Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 : การพยาบาลมารดา ที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะที่1 และ 2 ของการคลอด…
บทที่ 5 : การพยาบาลมารดา ที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะที่1 และ 2 ของการคลอด (ต่อ)
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด (Premature Ruptured of Membranes)
ความสำคัญ
เกิด PPROM มักมีช่วงเวลา latent phase มากกว่า 48 ชั่วโมงโดยช่วงเวลาดังกล่าวผกผันตามอายุครรภ์
PPROM มักมีโอกาสทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ มีภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก (Respiratory Distress Syndrome: RDS) ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง (Intraventricular hemorrhage: VH) และทำให้เกิดทารกเสียชีวิตตามมาได้ภายหลัง
หลังจากเกิดภาวะ PROM จะมีการคลอดตามมาภายใน 48 ชั่วโมง
สาเหตุ
ทารกที่มีส่วนนำผิดปกติ
มดลูกที่มีความตึงตัวมากเช่น Twin polyhydramnios
ทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติ (Chromosome abnormalities)
การฉีกขาดหรือการกระทบกระเทือนที่ตัวมดลูก
รกเกาะต่ำ (Placenta previa)
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio placenta)
การทำหัตถการต่างๆเช่นการเจาะถุงน้ำคร่ำ (Amniocentasis)
การสูบบุหรี่ การดื่มเหล้า
การขาดวิตามินซีสังกะสี
ถุงน้ำคร่ำอักเสบหรือติดเชื้อ (Chorioamnionitis)
ปากมดลูกปิดไม่สนิท (Cervical Insufficiency)
การติดเชื้อช่องคลอดและปากมดลูก
เศรษฐานะต่ำ
ชนิด
Preterm premature rupture of membranes: PPROM
หมายถึง ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ก่อนที่ครรภ์ครบกำหนด (preterm) หรือก่อนอายุครรภ์ 37 wks โดยไม่มีอาการเจ็บครรภ์
Prolonged rupture of membranes: Prolonged PROM. Prolonged ROM
หมายถึงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์เป็นเวลานานกว่า 24 ชั่วโมง
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ (Premature Ruptured of membranes): PROM
หมายถึง ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่วที่เกิดขึ้นเอง (Spontaneous) ก่อนที่จะมีการเจ็บครรภ์คลอดที่อายุครรภ์ครบกำหนดและระยะเวลาการเกิดมากกว่า 1 ชั่วโมงก่อนอาการเจ็บครรภ์จริง
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ดูภายนอก
สังเกตความเปียกชื้น
สังเกตสีของน้ำบริเวณปากช่องคลอด
ตรวจภายใน
โดยใส่ Speculum
หากถุงน้ำคร่ำแตกอาจพบน้ำคร่ำขังค้างอยู่ในบริเวณช่องคลอดด้านล่างของปากมดลูก (Posterior fornix) หรือเห็นน้ำคร่ำไหลออกจากปากมดลูก
ในกรณีตรวจไม่พบของเหลวภายในช่องคลอดชัดเจนควรให้ผู้คลอดไอหรือออกแรงเบ่งพร้อมกับใช้มือกดบริเวณยอดมดลูก
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ย้อม cell (nile blue test)
positive จะพยเป็นสีแสด
ตรวจหาสารไฟโบรเนกติน
ใช้ ELISA ถ้า positive จะมากกว่า 50 mg/dl
ตรวจผลึกรูปเฟิร์น
กระดาษไนทาซีน
พบว่าจากกระดาษสีเหลืองเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
การซักประวัติ
น้ำลักษณะใสคล้ายปัสสาวะไหลออกมาจากช่องคลอดอย่างต่อเนื่อง
ลักษณะไม่ใช้
ตกขาวจากช่องคลอดอักเสบ
การเพิ่มน้ำคัดหลังในช่องคลอด
มูกเลือด
การกลั้นปัสสาวะไม่ได้
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
มดลูกอักเสบ (Metritis)
ติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis)
ถุงน้ำคร่ำอักเสบ (Chorioamnionitis)
ทารก
ภาวะขาดออกซิเจน (Asphyxia)
สายสะดือย้อย (Prolapsed cord)
กลุ่มอาการผิดปกติต่างๆ (Fetal deformation syndromes)
สายสะดือถูกกดทับ (Cord compression)
ติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis)
Respiratory distress syndrome (RDS)
Intraventricular hemorrhage (IVH)
การรักษา
ระยะตั้งครรภ์
GA < 37 Wks.
ให้ยา steroid เพื่อช่วยสร้างสาร surfectant
amnionfusion
ให้ยาปฏิชีวนะ กลุ่ม penicillin
ฉีด NSS ไปทางหน้าท้อง
ให้ยายับยั้งการคลอด ex. steroid
GA > 37 Wks.
ชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์และการคลอด โดยใช้ oxytocin
C/S
PV ดูสภาพปากมดลูก
ระยะคลอด
C/S ในกรณีมีข้อบ่งชี้
ปรึกษากุมารแพทย์
เฝ้าระวัง FHS
ติดตามมารดาและทารกหลังคลอด
เฝ้าระวังการติดเชื้อ
การเจ็บครรภ์และการคลอดก่อนกำหนด (preterm labor and delivery)
สาเหตุ
ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ เช่น PROM
ตกเลือดในระหว่างการตั้งครรภ์
อายุ : น้อยกว่า18ปี หรือ มากกว่า35ปี
มีโรคประจำตัว เช่น HT , DM , หัวใจ , ไต , โลหิตจาง
การคลอดก่อนกำหนด
ฐานะทางเศรษฐกิจ
มีประวัติการแท้ง ตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป
ภาวะทุกโภชนาการ
สูบบุหรี่ , ดื่มแอลกอฮอล์
การทำงานหนัก
อาการแสดง
เจ็บครรภจริง
ปวดถ่วงท้องน้อย
มดลูกหดรัดตัวอย่างน้อย 4ครั้ง/20นาที
มีอาการปวดหลัง
ตรวจ PV
ปากมดลูกบางลง 80%
ปาดมดลูกเปิด 10 cm
ผลกระทบ
มารดา
สัมพันธภาพครอบครัวเสียไป
ท่าผิดปกติ อาจเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการใช้หัตถการ
ทารก
อวัยวะต่างๆทำงานไม่สมบูรณ์
ชนิด
extremely preterm birth คือ ก่อนอายุครรภ์ครบ 28 Wks
threatened preterm labor คือ เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดคุกคาม
veryperterm birth คือ ก่อน 32 หรือ 34 Wks
preterm labor and delivery คือ การเจ็บครรภ์คลอดก่อน GA 37 Wks
การรักษาและการพยาบาล
ให้สารน้ำและยานอนหลับ
ให้ยายับยั้งภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
แนะนำให้นอนพัก
ให้ยาปฏิชีวนะและการสร้างสารเคลือบถุงลม
การตั้งครรภ์และการคลอดเกินกำหนด (post term pregnancy and delivery)
การวินิจฉัย
ประวัติการฝากครรภ์
การตรวจภายใน เพื่อประเมินขนาดมดลูกในไตรมาสแรก
LMP
การตรวจอัลตราซาวน์ เพื่อประเมินอายุครรภ์
ผล
ปัญหาจาก oligohydramnios
ปัญหาจาก meconium stained amniotic fluid
ปัญหาจากรกเสื่อมสภาพ (placental dysfunction)
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตของทารก (fetal growth restriction)
สาเหตุ
มีภาวะแทรกซ้อน ทำให้รกเสื่อมเร็ว ex. DM , HT
ตั้งครรภ์นอกมดลูก ,
ความผิดปกติของทารก เช่น ทารกไม่มีสมอง (anencephaly)
มีประวัติตั้งครรภ์เกินกำหนดมาก่อน
สตรีตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 25ปีหรือมากกว่า 35ปี
ผ่านการคลอดบุตรมากกว่า4ครั้ง
มีความผิดปกติของรก
สตรีตั้งครรภ์ที่มีเลือดออกในไตรมาสแรก เช่น แท้งคุกคาม
BMI ก่อนตั้งครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ25
ได้รับยายับยั้งการคลอด
การรักษา
ระยะก่อนคลอด
CST
BPP
NST
amniotic fluid volume assessment
ระยะคลอด
ติดตามการหดรัดตัวของมดลูก
เจาะถุงน้ำคร่ำ
ติดตาม FHS
C/S ตามข้อบ่งชี้
น้ำคร่ำมีขี้เทามาก
CPD
ทารกพร่องออกซิเจน
ทารกตัวโต
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
ให้ข้อมูลสตรีตั้งครรภ์
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 42 Wks