Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีความผิดปกติของโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีความผิดปกติของโลหิต
สาเหตุความผิดปกติของโลหิต
อาจเกิดจากความผิดปกติส่วนใดส่วนหนึ่งของเม็ดเลือด เกล็ดเลือด หรือการขาดปัจจัยในการเข็งตัวของเลือด ทำให้มีภาวะซีด เลือดออกง่าย ติดเชื้อง่าย โรคที่เกิดจากความผิดปกติของเลือดในเด็กบางโรคอาจเป็นโรคเรื้อรัง และมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อตัวเด็กและครอบครัว
👶
ความผิดปกติของระบบเลือดในเด็ก
Thalassemia
ประเภท
Alpha1 Thalassemia trait 5%
Alpha2 Thalassemia trait 15-20%
Beta Thalassemia trait 3-9%
Hb CS trait 4%
Hb E trait 15-52%
อาการเเละอาการเเสดง
ซีด ตาเหลือง ตับม้ามโต
อาการเเทรกซ้อนจากภาวะเหล็กเกิน
กระดูกเปราะบาง หักได้ง่าย
🧪การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Blood smear :warning: tarket cell , ลักษณะคล้ายหยดน้ำ
ตรวจดูชนิดของฮีโมโกลบิน
🏣การรักษา
ให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม บอกโอกาสเกิดโรค
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
การให้ยาขับธาตุเหล็ก
Spleenectomy
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
*
เนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนจากภาวะซีด
มีโอกาสติดเชื้อในระบบต่างๆ เนื่องจากภาวะซีดและภูมิต้านทานต่ำจากการตัดม้าม
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะซีด ตัวเหลือง นิ่วในถุงน้ำดี หัวใจโต
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเหล็กคั่ง เช่น เบาหวาน หัวใจวาย
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับ Androgen หรือยากดอิมมูน
มีโอกาสปฏิบัติตนไม่ถูกต้องเนื่องจากพร่องความรู้
มีโอกาสเกิดการสูญเสียภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไปเพราะพยาธิสภาพของโรค
*
การอธิบายเกี่ยวกับโรค
การให้คำปรึกษาทางพันธุกรรมแก่ครอบครัว : prenatal diagnosis (preg 12 wk.) เจาะเลือดจากรก (16-18 wks.)
การให้เลือดและกรดโฟลิค : ให้เลือดเมื่อ Hb ต่ำกว่า 7 กรัม/ดล.
Leukocyte poor pack red cell : LPB
ประเมินภาวะแทรกซ้อน : HCC syndrome
การให้ยาขับเหล็ก : Desferral, Desferrioxamine, desferiprone
Growth retardation, visual field loss, hearing loss , diarrhea
การตัดม้าม: ซีดรุนแรง ตับม้ามโต ต้องให้เลือดบ่อยและปริมาณมากกว่า 200 มล./กก. มีเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดต่ำ
อายุมากกว่า 2 ปี หรือรอจนเด็กอายุ 5 ปี
การปลูกถ่ายไขกระดูก
Aplastic anemia
💭สาเหตุ
ยาคลอเเรมเฟนิคอล ยากันชักเเละยาลดไข้เเก้ปวด
สารเคมี เเสงรังสีขนาดสูง
การติดเชื้อทั้งเเบคทีเรียเเละไวรัส
🏣การรักษา
การรักษาประคับประคอง
หลีกเลี่ยงยาเเละสารเคมี
การรักษาจำเพาะ
เเนะนำผู้ปกครองทราบวิธีป้องกัน
อาการและอาการแสดง
*
ไขกระดูกถูกกด การสร้างเม็ดเลือดผิดปกติ
เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือดต่ำ
ซีด
เลือดออกง่าย
ติดเชื้อง่าย
อาการและอาการแสดง
ในทารกแรกเกิดมักพบอาการเลือดออกใต้ผิวหนังศีรษะ (Cephalhematoma) หากทำหัตถการเลือดจะหยุดยาก เมื่อเด็กโตขึ้นจะพบจุดจ้ำเลือดตามตัว ผิวหนัง หลังฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อจะมีก้อนนูนหรือเลือดออกนาน เมื่อฟันหลุดเลือดออกเยอะ เลือดออกภายในระบบต่างๆ ของร่างกาย ลักษณะเฉพาะของโรคคือ เลือดออกในข้อ (hemathrosis) ที่พบบ่อยคือ เลือดออกในข้อใหญ่ๆ เช่น ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อศอก ทำให้ข้อบวม ปวด เคลื่อนไหวได้อย่างจำกัด ต่อมาจะทำให้ข้อติดแข็ง เกิดความพิการของข้อในท่างอตามมา
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะช็อคจากการเสียเลือดจะมีโอกาสเสียเลือดมากกว่า 20 -30 % ของปริมาณเลือดทั้งหมดในร่างกาย
การมีเลือดออกในอวัยวะภายในที่สำคัญ อาจทำให้เกิดอันตรายรุนแรงได้มาก เช่น หากเลือดออกในสมอง อาจทำให้เสียชีวิตหรือมีอาการทางสมอง เช่น ซึม ชัก อาการอ่อนแรงหรืออัมพาตของแขนขา
ในเด็กเล็กหากมีเลือดออกที่คอ อาจกดทางเดินหายใจทำให้มีการอุดกลั้นทางเดินหายใจได้
การมีเลือดออกในข้อ อาจทำให้เกิดภาวะข้อพิการเนื่องจากข้อติดแข็ง
การได้รับเชื้อจุลชีพจากส่วนแยกของเลือดที่นำมาให้แก่ผู้ป่วย
🏣การรักษา
การทดแทนด้วยส่วนประกอบของเลือด (replacement therapy)
Corticosteroid
Amicar (epsilon aminocapoic acid: EACA)
ปลูกถ่ายตับ
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย เนื่องจากกระบวนการการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
เสี่ยงต่อการเกิดข้อพิการ เนื่องจากมีเลือดออกในข้อทำให้เกิดการปวดอักเสบและการพังผืดดึงรั้ง
มีความวิตกกังวล เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังและต้องเข้ารับการรักษาบ่อย
เสี่ยงต่อการถ่ายทอดทางพันธุกรรมเนื่องจากการมีความผิดปกติของยีน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการมีเลือดออกในส่วนต่างๆของร่างกาย : ภาวะช็อค การสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะที่มีเลือดออก
🧪การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Coagulation Factor Assays (<25%)
🗯Screening coagulogram
⭐ PTT -prolong
⭐ TT,PT: normal
CBC :<3:ซีด
ฺBleeding time :check: Normal
G-6-PD
🤦♀️อาการเเละอาการเเสดง
ซีดทันทีทันใด หลังจากกินยาหรือมีไข้สูง
มีอาการเหลือง
ปัสสาวะสีดำ 50%,ปัสสาวะออกน้อย
หอบ ซีด หัวใจเต้นเร็ว เหลือง BP drop
🏣การรักษา
การให้คำเเนะนำเเละคำปรึกาาเเก่ญาติผู้ป่วย
หาสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
ให้เลือดหากมีอาการซีดมาก
ระวังภาวะไตวาย
🗯คือ
ติดเชื้อจากถั่วปากอ้า
โรคเลือดจางจางเม็ดเลือดเเดงเเตก
กรรมพันธ์ุ ชนิด X-linked Recessive
Fanconi’s anemia: FA
เป็นไขกระดูกฝ่อแต่กำเนิด พบได้น้อยกว่าชนิดที่เกิดขึ้นภายหลัง ไขกระดูกฝ่อชนิดนี้จะมีจำนวนเม็ดเลือดทั้ง 3 ชนิดต่ำ ร่วมกับความผิดปกติหรือความพิการอย่างอื่นร่วมด้วย มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบยีนด้อย (autosomal recessive)
🤦♀️อาการเเละอาการเเสดง
พบความผิดปกติของร่างกาย ได้แก่ ตัวเตี้ย ศีรษะเล็ก ความผิดปกติของกระดูกมากขึ้นหรือผิดรูป โดยเฉพาะการไม่มีหรือมีนิ้วหัวแม่มือที่ไม่สมบูรณ์ ข้อนิ้วหัวแม่มืออาจหายไป บางรายอาจพบกระดูกปลายแขนหายไป ดั้งจมูกแบน ตาห่าง ตาเล็ก ผิวหนังมีสีคล้ำสลับกับด่างขาวตามลำตัว คอ รักแร้ อาจมีความผิดปกติของไต ไตเป็นรูปเกือกม้า อยู่ผิดที่ หรือหายไปข้างหนึ่ง 10% ของเด็กจะกลายเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด monomyelogenous leukemia และมีอาการของเม็ดเลือดทุกชนิดต่ำ คือ อาการเลือดออก ติดเชื้อ ซีด
🏣การรักษา
การรักษาโดยการใช้ยา จะให้ยารับประทาน Oxymethalone ร่วมกับการให้ยา Prednisolone หรือ Mandolone decanoate ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
การปลูกเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด สามารถรักษาให้หายขาดได้ >90% และทำให้มีชีวิตที่ยาวนานขึ้น แต่อาจมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งต่างๆ ได้
การรักษาแบบประคับประคอง เช่น การให้เลือด และในรายที่มีเลือดออกง่าย จะให้ E-aminocapoic acid รับประทาน
Iron deficiency anemia
🤦♀️อาการเเละอาการเเสดง
🤦♀️อาการเเละอาการเเสดง
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
Lab: Microcytic hypocromic เม็ดเลือดขาวและเกร็ดเลือดปกติ เฟอร์ริติน<10μg
🏣การรักษา
ให้ยา เช่น ferrous sulfate, ferrous gluconate, ferrous fumarate,
แก้ไขตามสาเหตุ, ให้เลือด
การพยาบาล
ป้องกันภาวะพร่องออกซิเจน
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
โรคเกล็ดเลือดต่ำ (Idiopathic Thrombocytopenia Purpura: ITP)
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยจะมีเกล็ดเลือดต่ำ มีเลือดออกง่ายตามอวัยวะต่างๆ โดยมากจะพบจุดจ้ำเลือดที่ผิวหนัง เป็น petichiae หรือจุดจ้ำเลือด ecchymosis เลือดกำเดาไหล เลือดออกในเยื่อบุต่างๆ ทางเดินอาหาร เลือดออกในสมอง ช็อคจากการเสียเลือด
หากเกิดจากการติดเชื้อจะพบอาการและอาการแสดงของเชื้อนั้นๆ เช่น หัด ไข้ออกผื่น หัดเยอรมัน คางทูม สุกใส ร่วมกับการมีเลือดออกตามร่างกาย
การวินิฉัย
*
การซักประวัติ ควรซักเกี่ยวกับประวัติการมีเลือดออกตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย จุดจ้ำเลือด การมีเลือดออกตามไรฟัน เลือดกำเดาไหล อุจจาระปัสสาวะเป็นเลือด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
การตรวจร่างกาย ตรวจผิวหนังมีจุดเลือดออก หรือมีเลือดออกที่อวัยวะอื่นๆ เลือดกำเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC พบ Plt. ต่ำ แต่เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวปกติ อาจตรวจไขกระดูกเพื่อวินิจฉัยแยกโรคจาก aplastic anemia, leukemia
🏣การรักษา
การรักษาด้วยยาสเตียรอยด์ ได้แก่ dexamethazone, prednisolone เพื่อยับยั้งการทำลายเกล็ดเลือด และทำให้ผนังหลอดเลือดแข็งแรงขึ้น
การรักษาด้วยยากดภูมิคุ้มกันอื่นๆ เช่น vincristine, cyclophosphamide ในรายที่รักษาด้วย prednisolone ไม่ได้ผล
การให้อิมมูโนโกลบิน (IVIG) ทางหลอดเลือดดำ พบว่าสามารถเพิ่มเกล็ดเลือดได้เร็ว แต่อาจลดต่ำได้อีกภายหลัง มักให้ในผู้ป่วยที่มีเลือดออกมากในทางเดินอาหาร หรือมีเลือดออกในสมอง
การตัดม้าม : เนื่องจากม้ามเป็นแหล่งทำลายเกล็ดเลือดและแหล่งสร้าง platelet antibody มักทำในรายที่รักษาด้วยยาแล้วไม่ได้ผล หรือมีเลือดออกรุนแรงจำนวนมาก หรือเลือดออกในสมอง
Acquired Prothrombin Complex Deficiency (APCD)
📝คือ
96% ไม่ได้รับวิตามินเมื่อเเรกเกิด
พบในเด็กอายุ 1/2 - 4 เดือน
กินนมเเม่ไม่ได้กินนมผสม
👩⚕️ การป้องกัน
ทารกอายุ 4 เดือนเเรกที่มีโรคท้องเดินเรื่ช้อรังควรให้ Vit K
ส่งเสริมให้ทารกเลี้ยงลูกด้วยนมเเม่
ให้ Vitamin K 1 mg IM ในทารกเเรกเกิดทุกราย
🤦♀️อาการเเละอาการเเสดง
มาหาเเพทย์ด้วยอาการทางสมอง เช่น ซึม ไม่ดูดนม ซึม
มีอาการเลือดออกในสมอง ผิวหนังเเละทางเดินอาการ
มีอาการซีด
สาเหตุ
เกิดจากการขาด วิตามิน K มักเกิดในเด็กที่กินนมมารดามากกว่านมผสม เพราะในนมมารดามีวิตามิน K ต่ำกว่า 2.5 µg/L ในนมผสมจะมีวิตามิน K ประมาณ 33 µg/L และจะพบในเด็กที่มีอายุ 5-6 เดือน ที่ไม่ได้รับอาหารเสริม
การวินิฉัย
การซักประวัติ ตรวจร่างกาย เช่น ประวัติการคลอดที่บ้าน ไม่ได้รับวิตามินเคเมื่อแรกเกิด ตรวจร่างกายอาจพบลักษณะกระหม่อมโป่งตึง ซีด ตับโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ระดับของ Prothrombin complex (Factor II, VII, IX, X) ต่ำมาก ระยะเวลาการหดตัวของลิ่มเลือด VCT ยาวกว่าปกติ Hb ต่ำกว่าปกติ TT, RBC, WBC, Plt. ปกติ
การรักษา
ให้วิตามินเค 1 ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ ให้พลาสมาสด กรณีที่มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ต้องให้การช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน เช่นถ้ามีอาการชัก ให้ยากันชัก Diazepam จนหยุดชัก และให้ยา Gardinal sodium ให้ Dexametazone เพื่อลดอาการบวมของสมอง เจาะกระหม่อม (Subdural tapping) ต้องทำหลังจากเด็กได้รับวิตามินเคหรือพลาสมาแล้ว 2-3 ชั่วโมง เจาะหลัง (Lumbar puncture) จะทำ 2-3 วันต่อมา โดยรอให้การบวมของสมองลดลง หากรักษาวิธีอื่นแล้วไม่ดีขึ้นจะทำการรักษาโดยการผ่าตัดเอาเลือดออกจากสมอง และต้องช่วยหายใจ ให้ออกซิเจน เนื่องจากหากมีก้อนเลือดกดเบียดอาจกดศูนย์หายใจ
โรควอนวิลลิแบรนด์ (Von Willebrand’s Disease: VWD)
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออก เช่น มีเลือดกำเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน จ้ำเขียวตามตัว เลือดออกมากเมื่อถอนฟัน ถูกมีดหรือของมีคม ประจำเดือนออกมากและนานกว่าปกติ อาการจะทุเลาลงเมื่ออายุมากขึ้น
หากอาการรุนแรงอาจมีเลือดออกตามข้อได้
การวินิฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Activate PTT และ Bleeding time นานกว่าปกติ ระดับ Factor VIII clotting activity (Factor VIII: C),VWF เกล็ดเลือด PT, Thrombin time ปกติ การยึดเกาะรวมตัวกันของเกล็ดเลือดผิดปกติ
การรักษา
*
ให้ FFP, Cryoprecipitate, Factor VIII แบบเข้มข้นที่มี VWF ด้วย เช่น Humate P
ให้ DDAVP
รักษาในตำแหน่งที่มีเลือดออก และการรักษาอื่นๆ คล้ายกับ Hemophilia
ความรู้เกี่ยวกับระบบเลือด
เซลล์เม็ดเลือดชนิดต่างๆ มีต้นกำเนิดมาจาก Pluripotential stem cell (PPSC) ซึ่งเซลล์นี้จะมีคุณสมบัติ คือ สามารถแบ่งตัวได้อย่างต่อเนื่อง (Self-renewal) และสามารถเจริญไปเป็นเซลล์เม็ดเลือดที่สามารถจำแนกแยก (Differentiate) ไปเป็นเซลล์ตั้งต้น (Progenitor cell) ที่ถูกกำหนด (Committed) ไว้แล้ว และเข้าสู่กระบวนการผลิตเม็ดเลือดชนิดต่างๆ ต่อไป
Medullary hematopoiesis
เป็นการสร้างแบบภาวะปกติหลังเกิด
Extramedullary hematopoiesis
เป็นการสร้างเพื่อชดเชยจากภาวะหรือโรคบางชนิด
ม้าม ตับ ต่อมน้ำเหลือง ต่อมหมวกไต กระดูกอ่อน พังผืด ก้อนธรอมบัส ไขมันในทรวงอก ไต เยื่อบุกระดูก
ส่วนใหญ่จะเป็นเซลล์ตัวอ่อน ทำงานได้ไม่เต็มที่
ส่วนประกอบของเลือด
พลาสมา
เม็ดเลือด
เกล็ดเลือด