Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ…
กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายสาธารณสุขที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ในการป้องกันและรักษาไว้ซึ่งชีวิต ร่างกายสุขภาพและอนามัยของประชาชน เพื่อให้ปลอดภัยจากความเจ็บป่วย และมีสุขภาพอนามัยที่ดีเป็นการใช้อำนาจเพื่อวางข้อกำหนดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วิธีการหรือเงื่อนไขในการปฏิบัติ จึงได้ประกาศเป็นระเบียบ
ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการรับ
มอบหมายให้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
2.บุคคลซึ่งได้รับมอบหมาย
ต้องเป็นการปฏิบัติราชการ หรืออยู่ในสถานพยาบาลของทางราชการเท่านั้น
บุคคลที่ได้รับมอบหมายตามระเบียบนี้ต้องอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
เพื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการหรือเงื่อนไขที่ระเบียบนี้กำหนด
3.บุคคลที่สามารถทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
เจ้าพนักงานสาธารณสุข
ผู้สำเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขสาสตร์
พนังงานอนามัย
ผู้ช่วยพยาบาลและผดุงครรภ์ ผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช
พนักงานสุขภาพชุมชน
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)
1.ผู้ที่กระทรวง ทบวง กรม องค์กรบริหารส่วนจังหวัด
เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น หรือสภากาชาดไทย จะมอบหมายให้ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ต้องเป็นบุคคลซึ่งระเบียบนี้กำหนด
รายละเอียดการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
1.ด้านอายุรกรรม ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เพื่อบรรเทาอาการของโรค
2.การรักษาพยาบาลอื่น
การสวนปัสสาวะ
การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู
การให้น้ำเกลือในผู้ป่วยท้องเดินอย่างรุนแรง
การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะอาหารโดยใช้
สายยางในรายที่สงสัยว่ารับประทานสารพิษ
3.ด้านศัลยกรรม
ผ่าฝี
เย็บบาดแผลที่ไม่สาหัส
ชะล้าง ทำแผล ตกแต่งบาดแผล
ผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมซึ่งอยู่ในตำแหน่งซึ่ง ไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญของร่างกาย
ด้านสูตินรีเวชกรรม
ทำการช่วยเหลือขั้นต้นในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
ทำการช่วยเหลือในกรณีที่จะมี การทำแท้ง หรือหลังแท้งแล้ว
ทำคลอดในรายปกติ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค รวมถึงการฉีดวัคซีนป้องกันโรค
การวางแผนครอบครัว การฉีดยาคุมและจ่ายยาเม็ดคุมกำเนิด
4.ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ และกระทำการด้านการวางแผนครอบครัว ใส่และถอดห่วงอนามัยได้
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นสอง ผู้มีวุฒิประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาลหรือประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวชทำการประกอบวิชาชีเวชกรรม
6.การวางแผนครอบครัวภายใต้เงื่อนไขและหลักเกณฑ์
ผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยได้คลอดบุตรมาแล้ว 45-60 วัน และยังไม่มีประจำเดือน
ผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยได้คลอดหรือแท้งลูกมาแล้ว 30 วัน และยังไม่มีประจำเดือน
ได้ทดสอบผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยแล้วว่าไม่ตั้งครรภ์
7.ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลผดุงครรภ์ ซึ่งได้ผ่านการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอดซึ่งผ่านการอบรมของกระทรวงสาธารณสุขแล้ว
8.ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ซึ่งได้รับประกาศนียบัตรการศึกษาหรือการอบรมในหลักสูตรวิสัญญีพยาบาลจากกระทรวง
ให้บุคคลซึ่งได้ผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาวิทยาสาสตร์การแพทย์ทำการประกอบวิชาชีพได้
ให้บุคคลซึ่งได้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรการผดุงครรภ์โบราณของกระทรวงสาธารณสุขทำการรับฝากครรภ์และทำคลอดในรายปกติได้
11.ให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งได้ผ่านการอบรม ได้รับหนังสือรับรองความรู้ความสามารถจากกระทรวงสาธารณสุข
12.ให้อาสาสมัครของสมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยหรืออาสาสมัครของสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน ซึ่งได้ผ่านการอบรมจากสถาบันดังกล่าวและได้รับหนังสือรับรองความรู้ ความสามารถจากกระทรวงสาธารณสุข
การใช้ยาตามบัญชียา ให้บุคคลที่ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ใช้ยาตามบัญชียาที่หน่วยราชการของกระทรวง
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541
คุณสมบัติของผู้ขอใบอนุญาตประกอบกิจการสถาพยาบาล
3.ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษา
4.ไม่เป็นโรคที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
2.มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
5.ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
1.มีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
6.ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ
หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
ประกอบกิจการสถานพยาบาล
2.ต้องแสดงรายละเอียดดที่เปิดเผยและ
เห็นได้ง่ายในสถานพยาบาลนั้น
รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
อัตราค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการ
ชื่อสถานพยาบาล
สิทธิของผู้ป่วย
3.ไม่เรียกเก็บค่าบริการอื่น
เกินอัตราที่ได้แสดงไว้
1.ต้องแสดงใบอนุญาตของตนไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่ายในสถานพยาบาลแห่งนั้น
สถานพยาบาล
1.สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
2.สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
อายุใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลมีอายุจนถึงสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
การขออนุญาต
ดำเนินการสถานพยาบาล
2.ต้องไม่เป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลอยู่ก่อนแล้วสองแห่ง
3.ต้องเป็นผู้ที่สามารถควบคุมดูแลกิจการสถานพยาบาลได้โดยใกล้ชิด
1.เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
โทษ พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541
โทษทางอาญา
1.ไม่แสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผย ไม่มีชื่อสถานพยาบาล
2.ไม่จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพ
3.ไม่ช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะอันตรายและไม่ช่วยเหลือ
4.โฆษณาสถานพยาบาลอันเป็นเท็จหรือโอ้อวดเกินความจริง
การปิดสถานพยาบาลชั่วคราว
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา 5 บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กำหนดโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 6 บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา 5 ให้ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อสำนักงานหรือหน่วยงานที่สำนักงานกำหนด
มาตรา 38 ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติเรียกว่า “กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”
มาตรา 42 ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ
มาตรา60 ในกรณีที่การกระทําผิดของหน่วยบริการตามมาตรา ๕๘ หรือมาตรา 59 เป็นการกระทําผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ําหลายครั้ง
พระราชบัญญัติหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติพ.ศ.2550
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา ๖ สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ซึ่งมีความจําเพาะ ซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพ
มาตรา ๗ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนําไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้
มาตรา ๕ บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิต
ในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
2.คุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป้าหมายของระบบสุขภาพ
3.การจัดให้มีหลักประกันและความคุ้มครองให้เกิดสุขภาพ
1.ปรัชญาและแนวคิดหลักของระบบสุขภาพ
4.การสร้างเสริมสุขภาพ
5.การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
6.การบริการสาธารณสุขและการควบคุมคุณภาพ
7.การส่งเสริม สนับสนุน การใช้และการพัฒนาภูมิปัญญา
ท้องถิ่นด้านสุขภาพการแพทย์แผนไทย
8.การคุ้มครองผู้บริโภค
9.การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ
10.การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
11.การผลิตและการพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุข
12.การเงินการคลังด้านสุขภาพ
นางสาวชุดานันท์ เฟื่องบุบผา รุ่น 36/1 เลขที่ 29