Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรค (Protection motivation theory), นางสาวสุกัญญา…
ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรค (Protection motivation theory)
ประวัติความเป็นมา
ทฤษฎีนี้เกิดขี้นจากการเป็นตัวกระตุ้นหรือปลุกเร้าให้เกิดความกลัวเพื่อให้เกิดพฤติกรรมการป้องกันโรคโดยใช้สื่อเป็นหลักในการเผยแพร่ข้อมูล
ตัวแปรที่ทำให้บุคคลเกิดความกลัวมีองค์ประกอบ 4 ตัวแปรคือ
2.การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค (Perceived Probability/Perceived Susceptibility)
3.ความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง (Response Efficacy)
1.การรับรู้ความรุนแรงของโรค (Perceived Severity)
ความคาดหวังในความสามารถตนเอง (Self-Efficacy Expectancy)
กระบวนการรับรู้มี 2 รูปแบบ คือ
การประเมินอันตรายต่อสุขภาพ ( Threat appraisal ) ประกอบด้วยการรับรู้2ลักษณะ
1.1การรับรู้ความรุนแรงของโรค (Perceived Severity)
1.2การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค (Perceived Probability/Perceived Susceptibility)
การนำองค์ประกอบบางส่วนของแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (health belief model)
การประเมินการเผชิญปัญหา (Coping appraisal) การรับรู้ 2 ลักษณะ
ความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง (Response Efficacy)
ความคาดหวังในความสามารถตนเอง (Self-Efficacy Expectancy)
การนำองค์ประกอบบางส่วนของทฤษฎีความคาดหวังในความสามารถของตนเอง (Self efficacy theory)
ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรคนี้ความเชื่อว่า แรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรคนั้นจะทำได้ดีเมื่อ
เชื่อว่าการตอบสนองโดยการปรับตัวเป็นวิธีการที่ดีที่สุดที่จะกำจัดอันตรายนั้น
บุคคลมีความเชื่อมั่นในตนเองว่าจะสามารถปรับตัวตอบสนองหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนั้นได้อย่างสมบูรณ์
บุคคลมีความรู้สึกไม่มั่นคงหรือเสี่ยงต่ออันตรายนั้น
ผลดีจากการตอบสนองด้วยการปรับตัวแบบไม่พึงประสงค์นั่นมีน้อย
บุคคลเห็นว่าอันตรายต่อสุขภาพนั้นรุนแรง
อุปสรรคต่อการปรับตัวหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนั้นต่ำ
นางสาวสุกัญญา สายด้วง
61125310135 Section:01