Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:check:สรุปเข้า PBL ครั้งที่ 2 :check:, อ้างอิง - Coggle Diagram
:check:สรุปเข้า PBL ครั้งที่ 2 :check:
การเตรียม
สถานที่
เตียงทำคลอด
โคมไฟ
ที่แขวนสารน้ำทางหลอดเลือดดา
ถังใส่ผ้าเปื้อน
ถังติดเชื้อ
อุปกรณ์ในการทำคลอด
นาฬิกา
อุปกรณ์ในการดูแลเด็กแรกเกิด
ปรับอุณหภูมิห้องให้ต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส
เตรียมผู้คลอด
1.จัดท่าผู้คลอด โดยให้นอนหงายชันเข่า
2.ส่งเสริมให้ผู้คลอดเบ่งด้วยตนเองเมื่อมดลูกมีการหดรัดตัว
3.ทำความสะอาด
-สำลีก้อนที่ 1
ฟอกบริเวณเหนือหัวเหน่าขึ้นไปหาหน้าท้องส่วนล่าง
-สำลีก้อนที่ 2 และ3
ฟอกซอกขาหนีบ ด้านในของต้นขาทั้งสองข้าง โดยฟอกจากขาหนีบ ออกไปให้กว้างประมาณ 2/3 ของต้นขา และฟอกลงมาถึงแก้มก้น
-สำลีก้อนที่ 4 และ 5
ฟอก แคมเล็ก และ แคมใหญ่ ทั้งสองข้างจากด้านบนลงมาล่าง และ จากด้านในออกไปด้านนอก
-สำลีก้อนที่ 6
ฟอกในแนวกลางบริเวณปากช่องคลอด และบริเวณฝีเย็บลงมาที่รอบรูทวาร หนัก
4.สำลีแต่ละก้อนเมื่อใช้แล้วทิ้งลงถังขยะติดเชื้อ
5.คลุมผ้าสะอาดให้ผู้คลอด
-ปูผ้ารองก้น โดยพับปลายผ้าให้ 1 ใน 4 ของผืนผ้า คลุมมือผู้ทำคลอดและนา ไปสอดไว้ใต้ ก้นผู้คลอด
-คลุมหน้าท้องสาหรับห่อตัวทารก
อุปกรณ์
Artery clamp 2 ตัว
กรรไกรตัดฝีเย็บ 1 อัน
กรรไกรตัดไหม 1 ตัว
กรรไกรตัดสายสะดือ 1 ตัว
Tooth – forceps 1 ตัว
Non tooth – forceps 1 ตัว
Needel holder 1 ตัว
ผ้าป้องกันการฉีกขาดของฝีเย็บ (ผ้ำ Safe perineum) 1 ผืน
ถ้วยกลม 1 ใบ ใส่สำลีชุบ N.S.S. หรือ boric acid
ถ้วยกลม 1 ใบ ใส่สำลีชุบน้ำยาฆ่าเชื้อ เช่น Tr. lodine 2% หรือalcohol 70% (สำหรับเช็ดสายสะดือทารก)
หน้าที่คนรับเด็ก
เตรียม set เช็ดตาและสะดือให้พร้อม warm ผ้าห่อเด็ก 2 ผืน ไว้ใต้เครื่อง warmer บริเวณแต่งเด็ก ป้ายตาด้วย terramycin เพื่อป้องกันหนองใน
ใส่ถุงมือ sterile เตรียมรับเด็กเมื่อผู้ทำคลอดกำลังทาคลอดทารก
เมื่อผู้ทำคลอดวางทารกในเครื่อง warmer ให้เช็ดตัวทารกทันทีด้วยผ้าผืนบนแล้วทิ้งไป
ปลดป้ายข้อมือจากข้อมือมารดาให้มารดาอ่านชื่อ-สกุล ว่าถูกต้องหรือไม่ จากนั้นผูกป้ายข้อมือทันทีต่อหน้าแม่
นำทารกไปทาความสะอาด ป้ายตา ชั่งน้าหนัก วัดความยาว วัดเส้นรอบศีรษะ และอุณหภูมิ ภายใต้เครื่อง warmer ตรวจสอบความผิดปกติของทารก ได้แก่ ความพิการต่างๆ เช่น ไม่มีรูทวาร ปากแหว่ง เพดานโหว่ นิ้วเกิน นิ้วไม่ครบ เท้าแป และการบาดเจ็บจากการคลอดหรือการทาหัตถการต่างๆ เช่น บาดแผลถลอกจากการคลอด V/E มีรอยที่เกิดจากการใช้ F/E ช่วยคลอด เป็นต้น
นำป้ายข้อมือที่ลงเพศ เวลาเกิด น้าหนัก มาผูกอีกข้างหนึ่ง
นำทารกที่ไม่มีปัญหาให้มารดากอดและดูดนมทันทีภายใน 30 นาที
เมื่อพบความผิดปกติดังกล่าวให้รายงานผู้ทำคลอดและให้มารดาดูทันที แจ้งผู้ลงข้อมูลเพื่อบันทึกข้อมูลความผิดปกติ พร้อมทั้งรายงานกุมารแพทย์ตามขั้นตอน เพื่อให้การช่วยเหลือต่อไป
ตรวจป้ายข้อมือทั้ง 2 ข้าง เติมน้าหนักและตรวจข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วน แล้วผูกข้อมือทารกอีกข้างหนึ่ง หลังจากนั้นห่อด้วยผ้าที่ warm ไว้ 2 ชั้น ปิด warmer
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาด
หน้าที่ผู้ช่วยผู้ทำคลอด
ตรวจสอบป้ายข้อมือให้ตรงกับเวชระเบียนและตัวผู้คลอด
ติดตามเฝ้าระวังและประเมินความก้าวหน้าโดยใช้ Pathograph ร่วมด้วยและสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ช่วยผู้คลอดปลดผ้าถุงออก และนำผ้าสะอาดคลุมหน้าท้องไว้และตั้งขาชันขึ้นโดยยังไม่ต้องขึ้นขาหยั่ง
ปิด set คลอด โดยเอาผ้าคลุม set มาปูไว้ที่เครื่อง warmer พร้อมทั้งเปิด heater warm ผ้าไว้ และเติมน้ายา เตรียมอุปกรณ์เย็บแผลใน set คลอดให้พร้อม
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ด้วย Providine scrub
ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนเรื่องการหายใจอย่างถูกวิธี การเบ่งคลอด ท่าคลอดที่เหมาะสมสะดวกต่อการคลอด เพื่อให้การคลอดดาเนินไปด้วยดี
เมื่อ Head seen นำผู้คลอดขึ้นขาหยั่ง
ช่วยแต่งตัวผู้ทำคลอดและเสิร์ฟยาชา เข็มเบอร์ 18,21 Syringe
RN หรือ TN ฟัง FHS จับ Contraction ทุก 5-10 นาที และเชียร์เบ่งคลอด ถ้า FHS < 100 หรือ > 160 / min มดลูกหดรัดตัวนานเกิน 60 วินาที ให้รายงานแพทย์พร้อมลงบันทึก
ในกรณีที่แพทย์ต้องทาหัตถการ V/E หรือ F/E ให้เตรียมเครื่องมือให้พร้อมใช้งานได้ทันที
RN หรือ TN ลงบันทึกเวลาคลอด เพศทารก เขียนป้ายข้อมือโดยตรวจชื่อ-สกุล จาก OPD
RN หรือ TN วัด BP หลังรกคลอด และช่วยให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา ( ให้ Ocytoxin 10 Unit IM ทุกราย ยกเว้น BP > 140/90 mmHg หรือใน case ที่มีข้อห้ามตามความเหมาะสม)
วัด BP หลังคลอด วัด 15 นาที 4 ครั้ง และ 30 นาที่ 2 ครั้ง หรือจนกว่า stable
จัดท่าผู้คลอดให้นอนในท่าที่สบายเมื่อการคลอดสิ้นสุด
จัดทำเอกสารการคลอดและบันทึกข้อมูลให้สมบูรณ์และครบถ้วน
หน้าที่ผู้ทำคลอด
ในรายที่ปากมดลูกยังเปิดไม่หมด ให้ตรวจภายในเป็นระยะจนปากมดลูกเปิดหมด
สอนมารดาเบ่งคลอด สวนปัสสาวะ ถ้าตรวจพบกระเพาะปัสสาวะเต็ม และเชียร์เบ่ง ครรภ์แรกถ้าเบ่งนานเกิน 1 ชั่วโมง และครรภ์หลังเบ่งนานเกิน 30 นาที ให้รายงานแพทย์
เมื่อมารดาเบ่งจน head seen ในครรภ์แรกหรือ Cx fully dilate ในครรภ์หลังให้แต่งตัวเตรียมทาคลอด
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ด้วย Providine scrub และปูผ้ารับเด็กใต้เครื่อง warmer
ฉีดยาชาระงับความรู้สึกบริเวณฝีเย็บและพิจารณาการตัดฝีเย็บ เพื่อช่วยเหลือกลไกการคลอด
เมื่อศีรษะทารกคลอดใช้ลูกยางแดงดูดน้าคร่าในปากและจมูก ทำคลอดตัวทารก ตัดสายสะดือและใช้ยางรัด เช็ดคราบเลือด อุ้มทารกให้มารดาบอกเพศทารกและนามาวางใต้ warmer
ทำคลอดรกตรวจสอบความครบถ้วนของรก และเยื่อหุ้มรก
เย็บแผลฝีเย็บในกรณีที่มีการตัดหรือมีการฉีกขาดของฝีเย็บ
ประเมิน total blood loss ชั่งน้าหนักรก วัดความยาวของสายสะดือ ก่อนทิ้งรกลงถัง ให้ยกรกขึ้นดูว่ามีอุปกรณ์ตกค้างในภาชนะใส่รกหรือไม่ และทาความสะอาดเครื่องมือ
การเชียร์เบ่ง
เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้ผู้คลอดสูดลมหายใจเข้ำทำงจมูกและเป่าลมหำยใจออกทางปากหนึ่งครั้งเพื่อหายใจล้ำงปอด
สูดหำยใจเข้ำเต็มที่แล้วกลั้นหำยใจไว้ ยกศีรษะจนคำงจรดหน้ำอก
ลักษณะคล้ำยตัว”C”ออกแรงเบ่งลงก้นเหมือนกำรเบ่งถ่ำยอุจจำระ นำนประมำณ 6-10 วินำที แล้วผ่อนลมหำยใจออก ขณะเบ่งไม่ให้ส่งเสียงร้อง เพรำะปกติไม่สำมำรถเบ่งพร้อมร้องได้
เบ่งซ้ำอีกครั้งถ้ำมดลูกยังหดรัดตัวแข็งอยู่ โดยปกติมดลูกหดรัดตัวหนึ่งครั้งคุณแม่สำมำรถเบ่งได้ 3-4 ครั้ง เมื่อมดลูกคลำยตัวให้หยุดเบ่ง โดยหายใจล้ำงปอดหนึ่งครั้ง
มดลูกจะแข็งตัวประมาณ 40 วินาที แล้วคลายตัวประมำณ 3 นาที คุณแม่จะเบ่งรอบละประมำณ 40 วินำที
หายใจตามปกติ และนอนพักจนกว่ามดลูกจะหดรัดตัวครั้งใหม่จึงเชียร์เบ่งต่อ
การตัดฝีเย็บ
median episiotomy
:warning:การตัดตามแนวกลางฝีเย็บ คือ การตัดจาก fourchette ลงไปตรงๆ ยาวประมาณ 2.5-3 cm.
mediolateral episiotomy
:warning: การตัดแบบเอียง คือ การตัดจาก fourchette เป็นแนวเฉียงประมาณ 45 องศา ยาวประมาณ 2-2.5 cm.
left mediolateral episiotomy
:!: เป็นการตัดเฉียงลงไปทางด้านซ้ายของฝีเย็บ
right mediolateral episiotomy
:!: เป็นการตัดเฉียงลงไปทางด้านขวาของฝีเย็บ
การตัดสายสะดือ
การนำ Arter clamp ที่ยางรัดมาหนีบสายรก ห่างประมาณ 2-3 cm. จากนั้นรูดสายสะดือเพื่อไล่เลือด และหนีบตัวที่ 2 แล้วทาด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ (Betadine Solutions) ก่อนตัดสายสะดือ ใช้กรรไกรตัดห่างจาก Arter clamp ตัวแรก 0.5-1 cm. และใช้ยางรัดรัดสายสะดือ
Apgar (Apgar scoring system)
การตรวจและให้คะแนนจะทำใน
นาทีแรกและทำซ้ำอีกในนาทีที่ 5 เมื่อแรกเกิด
ลักษณะ 5 ประการที่สังเกตตามวิธีของ Apgar มีดังนี้
สีผิว (appearance =A)
เป็นการประเมินดูสีผิว เยื่อบุตา เยื่อบุปาก ริมฝีปาก และ สีที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
ชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจ (pulse or heart rate = P)
เป็นการประเมิน ชีพจรโดยคลำที่สายสะดือ หรือฟังเสียงหัวใจโดยการนับจำนวนครั้งต่อนาที
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น (grimace or reflex = G)
เป็นการประเมินการ ตอบสนองต่อการกระตุ้นของทารกแรกเกิด เช่น การตอบสนองต่อการดูดสารคัดหลั่งในปากและจมูก หรือตีเบา ๆ ที่ฝ่าเท้า โดยสังเกตสีหน้า การไอ จาม และการร้องของทารก
การเคลื่อนไหวหรือความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (activity or muscle tone = A)
เป็นการประเมินดูการเคลื่อนไหวของแขนขา กำลังหรือความตึงตัวของกล้ามเนื้อ โดยการจับหรือยึด แขนและขาของทารกที่งอชิดลำตัวออกแล้วปล่อย ทำรกจะมีการต่อต้านด้วยการดึงแขนหรือขากลับหรือ มีแรงต้านทาน
การหายใจ (respiration = R)
เป็นการประเมินการหายใจโดยสังเกตจากการ เคลื่อนไหวของทรวงอก ว่าช้าหรือเร็วเท่าใด สม่ำเสมอหรือไม่
ค่าคะแนน
รวมกันมีคะแนนตั้งแต่ 0-10 คะแนน
7-10 คะแนน
ทารกกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะอยู่ในสภาพปกติ (good condition) ต้องการ ดูแลทั่วไปตามปกติ ไม่จำเป็นต้องช่วยหายใจ ต้องการการดูแลทั่วไปตามปกติ โดยช่วยให้ทางเดินหายใจโล่งและให้ความอบอุ่นแก่ทารกก็เพียงพอ
4-6 คะแนน
เสี่ยงต่ออันตราย (fair condition) เพราะศูนย์การหายใจถูกกดเล็กน้อยถึงปานกลาง ทำรกไม่หายใจเองใน 1 นาทีหลังจากการช่วยดูด เมือก น้ำคร่ำออกจาก ปาก คอ จมูก หรือมีการหายใจค่อนข้างช้า สีผิวอาจเขียว ซีด ตัวอ่อนปวกเปียก ไม่มีความตึงตัวของกล้ามเนื้อ แต่ยังมีอัตราการเต้นของหัวใจและปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น ทารกจะตอบสนองการหายใจด้วยการใช้ Bag และ Mask
โดยการให้ออกซิเจน 100 % และความดันที่เพียงพอที่จะทำให้เกิดการเคลื่อนไหว ของทรวงอกควรให้การช่วยหำยใจจนกว่าทารกจะตัวแดงอย่างใกล้ชิดในตู้อบและตรวจทางห้องปฏิบัติการต่อไป
0-3 คะแนน
ภาวะฉุกเฉินที่ต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างรีบ ด่วน เพราะ ศูนย์การหายใจถูกกดรุนแรง ไม่สามารถหายใจเองได้ อัตราการเต้นของหัวใจค่อนข้างน้อย ตัวอ่อนปวกเปียก ผิวเขียวหรือซีดขาว ไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งกระตุ้น
ต้องได้รับการช่วยเหลือการ หายใจทันทีที่คลอดเสร็จโดยการใส่ Endotracheal tube และช่วยการหายใจด้วย Bag โดยให้ ออกซิเจน 100 % พร้อมกับการนวดหัวใจ ถ้ำยังไม่มีการเต้นของหัวใจภายใน 1 นำที หรืออัตราการเต้นของหัวใจ < 100 ครั้งต่อนาที หลังการนวดหัวใจและให้การช่วยหายใจด้วยออกซิเจนเป็นเวลา 2 นาที ทารกควรได้รับการใส่สาย Umbilical venous catheter เพื่อให้โซเดียม ไบคาร์บอเนต สารน้ำ และยาอื่นที่จำเป็น
ข้อควรระวังในการทำคลอดไหล่และศีรษะ
ก่อนทำคลอดต้องแน่ใจว่า bisacromial diameter อยู่ในแนว A-P diamrter ของช่องเชิงกรานแล้วและศีรษะทารกอยู่ในแนวตั้งฉากกับไหล่
การดึงไหล่ควรทำอย่างนุ่มนวล และดึงลงตำมแนวทิศทางของทางคลอด
ระวังอย่าให้ไหล่ทั้ง 2 ข้างออกพร้อมกัน เพื่อป้องกันกระดูกไหปลาร้าหัก
ห้ามดึงรั้งใต้คางทารก เพราะอาจเกิดอันตรายต่อเส้นต่อเส้นประสาทบริเวณใบหน้ำ (facial nerves palsy) อาจทำให้ทารกมุมปากตก การดึงศีรษะทารกลงมามากๆ เพื่อทำคลอดไหล่หน้านั้นอาจทำให้เกิดการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ sternomastoid ทำให้มีเลือดขังจะเกิดพังผืดเกิดการดึงรั้งกล้ามเนื้อทำให้ไม่มีการยืดยาวต่อไป ทำให้เกิดคอเอียง (congenital torticollis)
ห้ามสอดนิ้วเข้าไปดึงรักแร้ เพราะอาจเกิดอันตรายแก่กลุ่มประสาทที่ไปเลี้ยงแขน (brachial plexus) ทำให้ทารกเกิดภาวะอัมพาตของแขนได้ (Erb-Duchenne Paralysis)
อ้างอิง
ศีตรา มยูขโชติ,พิเชษฐ แซ่โซว.การคลอด และองค์ประกอบของการคลอด[ออนไลน์] แหล่งที่มา:
https://administer.pi.ac.th/uploads/eresearcher/upload_doc/2016/academic/1452168934051566003510.pdf
[สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2563]
จิตรลดา คำจริง.แผลฉีกขาดบริเวณฝีเย็บที่เกิดจากการคลอด (ObstetricPerineal Laceration)[ออนไลน์] แหล่งที่มา:
https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=1103:obstetricperineal-laceration&catid=45&Itemid=561
[สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2563]
เกษมศรี ศรีสุพรรณดิฐ.การคลอดปกติทางช่องคลอด (Normal vaginal delivery)[ออนไลน์] แหล่งที่มา:
https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=475:normal-labor&catid=38&Itemid=480[สืบค้นเมื่อ
14 พฤษภาคม 2563]