Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด และการสื่อสารเพื่อการบำบัด - Coggle Diagram
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด และการสื่อสารเพื่อการบำบัด
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด (Therapeutic relationship)
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย (Nurse-Patient Relationship)
คือ บุคคลสองคน (พยาบาล+ผู้ป่วย) ได้มีการติดต่อกันชั่วระยะเวลาหนึ่ง ช่วยแก้ปัญหาและฟื้นฟูจากความเจ็บป่วยทางจิต
เป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพ
3.สามารถสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยกับผู้อื่น พึ่งพาผู้อื่น โดยสามารถเป็นผู้ให้และผู้รับ
4.ปรับปรุงการกระทำหน้าที่ในการดำรงชีวิต ให้ได้รับความพึงพอใจและบรรลุเป้าหมาย
2.รู้จักตนเอง ปรับปรุงตัวเองด้านความคิด การแสดงออก
5.ให้โอกาสผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกไม่สบายใจให้เกิดการเรียนรู้ในการปฏิบัตืตนที่เหมาะสม
1.ตระหนักในตนเอง ยอมรับ และเพิ่มความนับถือตนเองมากขึ้น
ระยะการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด (Phase of therapeutic relationship)
2.ระยะเริ่มต้นของสัมพันธภาพ (Initiatinf phase) เป็นระยะที่พยาบาลและผู้ป่วยพยายามทำความรู้จักกัน
สิ่งที่พยาบาลควรปฏิบัติ
กำหนดข้อตกลงในการสร้างความสัมพันธ์ เช่นวัตถุประสงค์ในการสนทนา ระยะเวลาในการดูแล
สร้างความไว้วางใจโดยเคารพและยอมรับ ฟังผู้ป่วย
ควรกล่าวทักทายด้วยท่าทางเป็นมิตร พูดเรื่องทั่วไปก่อน เพื่อเพิ่มความไว้วางใจในตัวพยาบาล
ตอบสนองต่อปัญหาหรือความกังวลที่เกิดขึ้น
เตรียมสถานที่และบรรยากาศให้น่าไว้วางใจ
3.ระยะแก้ไขปัญหา (Working phase) คือ การรับฟังปัญหาของผู้ป่วยแบบไม่มีอคติพูดคุยถึงปัญหาและมีแนวทางแก้ปัญหาให้
1.ระยะก่อนสนทนา(Pre interacting phase) เป็นระยะที่พยาบาลได้รับมอบหมายให้เข้าไปช่วยผู้ป่วยโดยการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
4.ระยะยุติสัมพันธภาพ (Termination phase) คือ ระยะที่ผู้ป่วยได้รับการคลี่คลายปัญหาแล้ว ไม่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือจากพยาบาลอีก
การสื่อสารเพื่อการบำบัด (Therapeutic Communication)
ประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบคือ
ท่านั่ง (seating)
ถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ควนคำนึงถึง
ระยะห่างระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย (space)
ต้องมีระยะห่างมากพอสมควรเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยรู้สึกอึดอัด
สถานที่ (place or setting)
สถานที่ใช้ในการสนทนา เพื่อให้ผู้ป่วยผ่อนคลายและไว้วางใจระบายความรู้สึกของตน
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ช่วยให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์
มี 5 แบบ
2.เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายความคิดความรู้สึก
Sharing observation คือ การแบ่งปันสังเกตเห็นผู้ป่วย
Using silence คือ การใช้ความเงียบ
Accepting/listening คือ การยอมรับ ในสิ่งที่ผู้รับบริการพูดอาจแสดงออกด้วยท่าทางน้ำเสียง
Giving information คือ การให้ข้อมูลผู้ป่วยที่เป็นจริง
Reflecting (content/feel) คือ กล่าวซ้ำสะท้อนความคิดความรู้สึก
Presenting reality คือ การให้ความจริง กรณีผู้ป่วยมีความคิดหรือ รับรู้ที่ผิดไปจากความจริง
3.เทคนิคการส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
Listening คือ การฟัง
Offering self คือ การเสนอตัวเองเพื่อรับฟังปัญหา
Giving recognition คือ แสดงความจำและระลึกได้
Positive reinforcement คือ การให้แรงเสริมทางบวก
1.เทคนิคการกระตุ้นและส่งเสริมการสนทนา
Using broad opening Statement คือ การเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเลือกหัวข้อในการสนทนา
Using general lead คือ การใช้คำพูดอยากให้เขาพูดต่อ
Restating คือ การใช้ทวนซ้ำให้สิ่งที่ผู้รับบริการพูด
Questioning คือ คำถามทั่วไปเพื่อเปิดประเด็นการสนทนา
4.เทคนิคที่ช่วยพยาบาลกับผู้ป่วยเข้าใจให้ตรงกัน
Focusing คือ มุ่งความสนใจให้อยู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
Encouraging evaluation คือ การขอให้ผู้ป่วยประเมินประสบการณ์ที่เคบเผชิญมา
Exploring คือ การสอบถามเพื่อให้ได้จข้อมูล
5.เทคนิคช่วยส่งเสริมความเข้าใจในการปรับตัวผู้ป่วย
Encouraging formulation of a plan of action คือ การสนับสนุนให้ผู้ป่วยวางแผนในอนาคตเลือกพฤติกรรมที่เหมาะสม
Summarizing คือ การสรุปเนื้อหาด้วยคำพูดสั้นๆเพื่อให้ได้ใจความทั้งหมด
หลักปฏิบัติในการสื่อสาร
4.สื่อสารที่เน้นเรื่องราวในปัจจุบัน
5.ใช้หลักการสื่อสารที่ให้ผู้ป่วยมีโอกาสระบายความรู้สึก
3.ไม่พูดถึงอดีตที่ปวดร้าวเกินไป
6.ใช้หลักการต่างๆชัดเจนตรงไปมา
2.ไม่เสนอข้อมูลมากเกินไปจนทำให้ผู้ป่วยสับสน
7.ให้สำคัญและสอดคล้องระหว่างเนื้อหา คำพูด ท่าทาง สีหน้า และน้ำเสียงพยาบาล
1.ฟังเนื้อหา เจตนาว่าผู้ป่วยพูดถึงอะไรหมายถึงอะไร