Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูลผู้ใหญ๋ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติขอ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูลผู้ใหญ๋ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบบทางเดินหายใจ
การประเมินสภาพระบบหายใจ
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
ประวัติการผ่าตัด
อาการไอ เช่น ระยะเวลาการไอ ลักษณะไอ เสมหะ
อาการร่วมอื่นๆ เจ็บอก เสียงแหบ
การตรวจร่างกาย
ระบบหายใจ เช่น การหายใจ ฟังเสียงปอด
ระบบประสาท กระสับกระส่าย สับสน
ระบบหายใจและหลอดเลือด
ระบบผิวหนัง
ระบบย่อยอาหาร สีเล็บ สีผิว ปลายมือปลายเท้า
การตรวจทางปฏิบัติการ Arterial Blood Gas
PH ค่าปกติ 7.35-7.45
Paco2 ค่าปกติ 35-45 mmHg
PaO2 ค่าปกติ 80-100 mmHg
HCO2 ค่าปกติ 22-26 mEq/L
oxygensaturation ค่าปกติ 97-100 %
การตรวจทางปฏิบัติการ
Lung function test
การตรวจ CBC
การตรวจอิเล็กโตรไลท์
ภาวะหายใจล้มเหลว
PaO2 ต่ำกว่า 50 mmHg
PaCO2 มากกว่า 50 mmHg
สาเหตุ
Decreased Fi O2
V/Q mismatch
Diffusion defect
Hypoventilation
Respiratory Failure
Lung Failure
Oxygenation failure
Hypoxemia,PaO2≤60mmHg
“hypoxemia”
Pump Failure
Ventilatory failure
Hypoxemia,PaO2 ≤45
“hypercapnia”
โรคหืด (Asthma)
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้นที่ทำเกิดอาการ
สารก่อภูมิแพ้
สารระคายเคือง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น
การวินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับอาการแพ้อื่น
คนในครอบครัวป่วยเป็นหอบหืด
เกิดอาการหลังออกกำลังกาย
การตรวจร่างกาย
อาจไม่พบความผิดปกติขณะไม่มีอาการ
ขณะมีอาการพลอัตราการหายใจเพิ่มขึ้น หายใจลำบาก หายใจออกยาวกว่าปกติ หรือหายใจได้ยินเสียงหวีด
เป้าหมายการักษา
สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบลงได้
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อน
ป้องกันและลดอุบัติกาารณ์การเสียชีวิต
How to achieveGoal
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
แนะนำวิธีหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้
ประเมินความรุนแรงของโรคหืด
จัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
Asthma medications
Controllers
Glucocorticosteroids
Inhaled long-acting E2-agonists
Leukotriene modifiers
Sustained-release theophylline
Anti-IgE
(Cromones)
Asthma Relievers
Inhaled anticholinergics
Short-acting theophylline
Short-acting E2agonists (SABA)
การควบคุใโรคหืด
ควรดื่มน้ำอุ่นมาๆ พักผ่อนให้เพียงพอ
ไม่ควรซื้อยาชุดหรือยาลูกกลนฃอนทานเอง
ควรพกยาบรรเทาอาการติดตัวเป็นประจำ
ควรออกกำลังกายและผ่อนคลายความเครียด
แนะนำวิธีหลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ใกล้ชิด
ChronicObstructivePulmonaryDisease
อาจเกิดจาก 2 โรค
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
โรคถุงลมโป่งพอง
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
ด้านสภาวะแวดล้อม เช่น ควันบุหรี่ ควันไฟ
การวินิจฉัย
ตรวจรังสีทรวงอก
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด
ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการที่พบ
การตรวจวิเคราห์ก๊าซในเลือดแดง
ระดับความรุนแรง
GOLD 1 Mild FEV1 ≥80% predicted
GOLD 2 Moderate 50% ≤FEV1< 80%predicted
GOLD 3 Severe 30% ≤FEV1< 50%predicted
GOLD 4 Very severe FEV1< 30%predicted
เป้าหมายของการรักษา
ป้องกันและภาวะกำเริบของโรค
ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น
บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
แนวทางการรักษาระยะที่โรคสงบ
การรักษาทางยา
bronchodilator
Corticosteroid
Methylxanthine
การฟื้นฟูสมรรถภาพปอดโดยการออกกำลังกาย
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
การหยุดบุหรี่
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
แนะนำวิธีการพ่นยา
โรคปอดอักเสบ
สาเหตุ
เชื้อไมโครพลาสมา
เชื้อรา พบได้น้อย
เชื้อไวรัส หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
เชื้อโปรโทซัว
ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
สารเคมี
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่มีภาวะคุ้มกันบกพร่อง
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด
ผู้ที่มีโรคประจำตัว
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ประเภทของโรคปอดอักเสบ
Ventilator associated pneumonia (VAP)
Community–acquired pneumonia (CAP)
Hospital–acquired pneumonia (HAP)
Healthcare associated pneumonia (HCAP)
การวินิจฉัย
หายใจตื้นถี่ๆ ซี่โครงบุ๋ม จมูกบาน ตัวเขียว ขาดน้ำ
เสียงหายใจค่อย มีเสียงกรอบแกรบใต้สะบัก
ไข้สูง หน้าแดง ริมฝีปากแดง
ปอดอาจเคาะทึบ
การรักษาโรคปอดอักเสบ
4.ดูแลความสมดุลของน้ำและอิเล็กโตรไลท์
5.ให้อาหารโปรตีนสูง
3.ดูแลบำบัดทางเดินระบบหายใจ
ุ6.ดูแลความสะอาดช่องปากและฟัน
2.ให้ยาปฏิชีวนะ
ึ7.ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
1.เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
Pulmonary embolism
สาเหตุ
Vessel injury
กรรมพันธุ์
Hypercoagulability
ความอ้วน
Venous stasis
การวินิจฉัย
หอบเหนื่อยอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก
ตรวจร่างกาย หายใจเร็ว ออกซิเจนต่ำ
ABG พบภาวะ Hypoxemia
D-dimer , Troponin I หรือ T สูงกว่าปกติ
การรักษา
การให้ยาต้านลิ่มเลือด
การผ่าตัดเอาเลือกออก
การให้ยาละลายลิ่มเลือด
Adult Respiratory Distress Syndrome
สาเหตุ
จมน้ำ
ปอดอักเสบ ติดเชื้อ
พิษจากการให้ออกซิเจนเข้มข้นเป็นเวลานาน
Embolism
การสูดดมสารพิษ
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium
การพยาบาล
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา
ดูแลการดูดเสมหะ สอนการไอ
ให้การพยาบาลด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ
ใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์ทุกครั้งที่ปลดข้อต่อเครื่องช่วยหายใจ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
ดูแลทางเดินหายใจให้เล่ง
ดูแลให้ได้รับยาขับเสมหะตามแผนการรักษา
Pleural effusion
สาเหตุ
มะเร็งปอด
โรคหัวใจ ำด้แก่ ภาวะหัวใจวาย
โรคปอด เช่นวัณโรคเยื่อหุ้มปอด
โรคไต ได้แก่ ภาวะไตวาย
โรคตับแข็ง
โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
การรักษา
เจาะของเหลว
รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอด
การตรวจร่างกาย
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงลดลง
ได้ยิน pleural friction rub
เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ
อาจพบหลอดลมคอเอียง
ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เครื่องบ่งชี้ว่าควรยุติการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
5.EKG มี arrhythmia
ุ6.Skin มีเหงื่อออกมา
4.ออกซิเจน sat น้อยกว่า 90 %
ึ7.ABG , pH < 7.35 การคั่งของ CO2
3.ระดับความรู้สึดตัวเปลี่ยนไป
8.อาการแสดงว่ากล้ามเนื้ออ่อนแรงคือการใช้
2.ชีพจรเต้นเพิ่มขึ้นหรือลดลง 20 ครั้งต่อนาที
9.ผู้ป่วยบอกว่าเจ็บหน้าอก
1.ความดันโลหิตเพิิ่มหรือลดจากเดิม 20 mmHg
การพยาบาลผู้ป่วยขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
3.จัดให้ผู้ป่วยนั่งศีรษะสูงหรือนั่งหลังตรง
4.เจาะและส่งตรวจ ABG ไว้เป็นข้อมูลพื้นฐานก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
2.ต้องดูดเสมหะและให้ผู้ป่วยพักหลังดูดเสมหะ 15 นาที
6.สังเกตและบันทึก
ระดับความรู้สึกตัว
สัญญาณชีพ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ออกซิเจน sat
1.อธิบายขั้นตอนการหย่าเครื่องช่วยหายใจให้ผู้ป่วย
5ให้ผู้เริ่มกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามวิธีที่เลือกใช้
7.ส่งตรวจ ABG ตามแผนการรักษา
8.วัดและบันทึก lung mechanic หรือ weaning
9.สังเกตและบันทึกเมื่อผู้ป่วยมีอาการแสดงว่ากล้ามเนื้ออ่อนแรง
10.ควรให้ผู้ป่วยไเ่ผ่อนคลายโดยการฟังวิทยุ ดูทีวี หรืออ่านหนังสือ
11.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอในช่วงกลางคืน
นางสาวเข็มทราย มุมทอง รหัส 612501015