Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติข…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
พยาธิสรีรวิทยาของระบบหายใจ
ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหายใจ ได้แก่
การระบายอากาศไม่เพียงพอ (Alveolar hypoventilation)
การบกพร่องในการซึมผ่าน (Diffusion defect or impairment)
ความไม่สมดุลของอัตราส่่วนการระบายอากาศกับการไหลเวียนเลือ
เลือดไหลทางลัด (Shunteffect)
ปัญหาทางเดินหายใจ
การอุดกั้น
COPD
Asthma
Cancer
การติดเชื้อ
Tonsillitis
Pharyngitis
TB
Pneumonia
การกำจัดการขยาย
Pneumothorax
Empyema
Pleural effusion
การบาดเจ็บ
Flail chest
Fx rib
การประเมินสภาพระบบหายใจ
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
การรักษา
ยาที่ได้รับ ประวัติการผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
ระบบหายใจ
ระบบประสาท
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบผิวหนัง
ระบบย่อยอาหาร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ Arterial Blood Gas
Respiratory Acidosis
Hypoventilation
การหายใจการแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลง หายใจออก ลดลง
ได้รับยา ประเภท narcotic, barbiturate เกินขนาด
อัมพาตของกล้ามเนื้อช่วยหายใจง
การรักษา
ขจัดสาเหตุ
ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วย หายใจ
ให้การรรกษาตามโรค
ให้โซเดียมไบคารบ์อเนต
Hyperventilation
การหายใจเร็ว ภาวะหอบหืด ปอดอักเสบ ไข้สูง วิตกกังวล
เนื้องอกในสมอง สมองได้รับบาดเจ็บทำ ให้ศูนย์ควบคุม การหายใจทำงานผิดปกติ
การตั้งเครื่องช่วยหายใจไม่เหมาะสม
การรักษา
ปรับลด Tidal volume ,RR
ให้ยาแก้ปวด
Hyperventilation syndrome ให้ผู้ป่วยหายใจในถุงกระดาษ
ให้ Sedative drug
Metabolic Acidosis
ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้
ท้องร่วงรุนแรง
ไตวาย
เบาหวานที่ขาดอินซูลิน
การรักษา
ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ
การประเมินสภาพระบบหายใจ
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การทา X –ray เพื่อวินิจฉัยภาวะ หายใจวาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ CBC
การตรวจอิเลคโตรลัยท์
การวัด oxygen saturation (SpO2)
ภาวะหายใจล้มเหลว (Respiratory Failure)
ชนิดของการหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
ชนิดที่ 1 Oxygenation failure
ชนิดที่ 1 Oxygenation failure
ระยะเวลาที่เกิดปัญหา
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
ระบบประสาท
ระยะแรกมีอาการกระสับกระส่าย สับสนการรับรู้ลดลง
ระยะรนุแรงซึม หมดสติ รูม่านตาขยายไม่ ตอบสนองต่อแสง กล้ามเนื้อกระตุก
ระบบหายใจ หายใจเร็ว หอบเหนื่อย ถ้ารุนแรงมากอาจเกิด Cheyne –Stokes breathing หรือ apnea
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การเต้นของหัวใจเร็วขึ้น เมื่อรนุแรงหัวใจจะบีบตัวลดลง เกิด arrhythmia ความดันโลหิตลดลงสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
ระบบผิวหนัง
ระยะขาดรุนแรง จะมีอาการตัวเขียว เมื่อ PO2<40mmHg หรือ O2Sat <70% บริเวณเยื่อบุปาก ลิ้น ปลายมือปลายเท้า
ระยะแรกจะมีเหงื่อออก ตัวเย็น
ระบบประสาทส่วนกลาง
ระยะแรกกระตุ้น Central chemoreceptor ท าให้เพิ่มการ หายใจ
ระยะที่คั่งมาก จะกดการหายใจ เริ่มซึมง่วงนอน สับสน ไม่มีสมาธิ ถ้าCO2สงูขึ้นจนถึง 3 เท่าของระดับปกติ อาจ Coma
ระบบหลอดเลือด CO2 ทา ให้ arteriolar dilatation ผิวหนังหนา แดง และ อุ่น
โรคที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
โรคหืด (Asthma)
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการ
สารก่อภูมิแพ้
ภายในอาคาร
ไรฝุ่น
แมลงสาบ
สัตว์เลี้ยง
รา
ภายนอกอาคาร
เกสรหญ้า
วัชพืช
สปอร์เชื้อรา
สารระคายเคือง ได้แก่ น้ำหอม กลิ่นสีทินเนอร์ น้ำยา หรือสารเคมี ละอองยาฆ่าแมลง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น
การวินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis
มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
เกิดอาการหลังออกก าลังกาย
การควบคมุโรคหืด
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ใกล้ชิด
แนะนำวิธีการหลีกเลี่ยงหรือขจัดสิ่งที่แพ้และอาการหอบหืด อย่างเป็นรูปธรรมคือสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้
ประเมินระดับความรุนแรงและการประเมินผลการควบคุม โรคหืดระดับความรุนแรงของการควบคมุโรค
การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดกำเริบเฉียบพลัน
จัดระบบให้มีการดูแลรักษษต่อเนื่องอย่างมีประสืทธิภาพ
chronic obstructive pulmonary disease
อาจเกิดจาก 2 โรค คือ
โรคหลอดลมอักเสบเรือ้รงั (chronic bronchitis)
โรคถุงลมโป่งพอง (pulmonary emphysema)
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม มีความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ควันบุหรี่ ควันไฟ
การวินิจฉัย
ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ
ตรวจภาพตรังสีทรวงอก หัวใจโต ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ
การตรวจวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง พบค่า PaCO2สูงขึ้น
ประเมินความเสี่ยงของการก าเริบอาการหอบเหนื่อย
ระดับ 0 คือ ปกติไม่มีเหนื่อยง่าย
ระดับ 1 คือ มีอาการเหนื่อยง่าย เมื่อเดินเร็ว ๆ ขึ้นทางชัน
ระดับ 2 คือ เดินในพื้นราบไม่ทันเพื่อนที่อยู่ในวัยเดียวกัน เพราะเหนื่อยหรือต้องหยุดเดินเป็นพักๆ
ระดับ 3 คือ เดินได้น้อยกว่า 100เมตร
ระดับ 4 คือ เหนื่อยง่ายเวลาท ากิจวัตรประจ าวัน เช่น ใส่ เสื้อผ้า อาบน้ำ แต่งตัว จนไม่สามารถออกนอกบ้านได้
การวินิจฉัย
มีเสมหะในหลอดลม
2.ถุงลมโป่งบางส่วน และแฟบบางส่วน
3.การขยายของทรวงอก
4.มีการทา ลายเนื้อปอด
เป้าหมายของการรักษา
1.บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
2.ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
3.ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น