Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Total Anomalous Pulmonary Venous Return :TAPVR, 55, 555, 5555, 55555,…
Total Anomalous Pulmonary Venous Return :TAPVR
คือ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวที่หลอดเลือด Pulmonary vein ทุกเส้นมาเปิดที่ Rt.Atrium หรือเข้า Superior Vena Cava หรือเข้า Inferior Vena Cava ตามชนิดของ TAPVR
เกิดจากการเจริญเติบโตที่ผิดปกติของหัวใจทารกในครรภ์ในช่วง 8 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์
ชนิดของ TAPVR มี 4 ชนิดตามการเปิดของ Pulmonary vein
Pulmonary vein มาเปิดที่ Coronary (Cardiac type)
Pulmonary vein มาเปิดที่ IVC/Portal vien/Ductus venosus (Infracardiac/Infradiaphragmatic type)
Pulmonary vein มาเปิดที่ SVC (Supracardiac type)
Pulmonary vein มาเปิดที่ หลายตำแหน่ง (Mixed)
พยาธิสรีรวิทยา
Total anomalous pulmonary venous return (TAPVR)
พยาธิสภาพที่สำคัญคือ การที่ pulmonary vein ทุกเส้นต่อกับหัวใจด้านขวา ทำให้เส้นเลือดแดงจากปอดจะมาปนกับเลือดดำในหัวใจข้างขวา ผู้ป่วยจะมีชีวิตอยู่ได้จะต้องมี foramen ovale เปิดอยู่เพื่อให้เลือดที่ผสมกันแล้วผ่านไปเลี้ยงร่างกายทางหัวใจด้านซ้าย ผู้ป่วยจะมีอาการเขียว หายใจเร็ว ตั้งแต่ในทารกแรกเกิด
ในรายที่มีการอุดกั้นการไหลเวียนจากปอดหรือทางเปิดของ Pulmonary Vein ตีบทำให้มีเลือดคั่งที่ปอด และเกิดภาวะปอดบวมน้ำ ส่งผลให้หัวใจวาย (มักพบใน TAPVC ที่ pulmonary vein มาเปิดที่ Inferior vena cava )และใน Infracardiac TAPVC: pulmonary vein จะโดน diaphragm บีบทำให้เกิด back pressure ไปปอดและเกิด CHFได้
อาการและอาการแสดง
ในรายที่มีการตีบของ Pulmonary vein จะเขียวมาก ถ้ารักษาไม่ทันจะหัวใจวายและเสียชีวิต
Infracardiac TAPVC แสดงอาการเร็ว คือเขียว หายใจเร็ว ตั้งแต่แรกเกิด อาจมีตับโตและขาบวมด้วย
ในรายที่ไม่มี การตีบของ Pulmonary vein อาจไม่แสดงอาการจนกระทั้ง แรงต้านทานของหลอดเลือดที่ปอดลดลงในขวบปีแรกจะทำให้หัวใจวาย
ส่วนใหญ่จะมี อาการเขียว ตั้งแต่อายุน้อย มักจะเขียว ตอนดูดนมหายใจเร็ว ใช้แรงในการหายใจมากกว่าปกติ
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย มีหายใจเร็ว ดูดนมแล้วเหนื่อย น้ำหนักขึ้นช้า มีcyanosis
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจRt.Atrium ขยายตัว & Rt.Ventricle หนาตัว
มีประวัติ เขียว ติดเชื้อทางเดินหายใจและหัวใจวาย
Echo พบหัวใจห้องขวาโต pulmonary vein ต่อเข้าที่หัวใจที่ Rt.Ventricle
การรักษาหัวใจวาย
การผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการ
โดยทำ Balloon atrial septostomy ในรายที่มี Foramen Ovale เปิดไม่ดี
การผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติ
ดีที่สุด ควรทำในเด็กอายุ<1 ปีโดยการต่อCommon pulmonary veinจากปอดสู่ Lt.Atrium และปิด ASD
ปัญหาของเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว
มีโอกาสเกิดการอุดตันของหลอดเลือดฝอยในร่างกายเนื่องจากมีภาวะเลือดข้น
มีโอกาสเกิดฝีในสมองเนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด ทำให้เลือดบางส่วนไม่ได้ส่งไปฟอกที่ปอด
เสี่ยงต่อการเกิด ภาวะสมองขาดออกซิเจนได้ง่าย
ต้องการการดูแลก่อนและหลังผ่าตัด
มีภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลันเนื่องจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างเฉียบพลัน
ตัวอย่างปัญหาและกิจกรรมการพยาบาล
มีภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลันเนื่องจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างเฉียบพลัน
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ออกซิเจน face mask เพื่อลดภาวะสมองขาดออกซิเจน
ติดตามค่า Oxygen saturation เป็นระยะเพื่อประเมินภาวะ hypoxemia
1.ดูแลให้นอนท่าเข่าชิดอก (หงายหรือตะแคงก็ได้)นั่งยองๆในเด็กโตในเด็กเล็ก อุ้มให้เข่างอชิดอก (Squatting)
ดูแลให้ Rest อาจให้ Chloral Hydrate เพื่อให้ผู้ป่วยหลับหรือสงบ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ABG/VBG
ดูแลให้สารน้ำตามแผนการรักษาเพื่อลดภาวะเลือดข้น(ถ้า Hct>55%)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองขาดออกซิเจนได้ง่าย
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลไม่ให้เด็กร้องให้มากดูแลให้ได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ
ดูแลไม่ให้ท้องผูก ให้รับประทานอาหารที่มีกากใยผักผลไม้ดื่มน้ำ เพื่อป้องกันการเบ่งถ่ายอุจจาระ
ควบคุมและจำกัดกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องออกแรงมากเช่นการเล่นที่ออกแรงการตื่นเต้นตกใจกลัวหรือเกิดความเจ็บปวด
ให้เด็กดื่มน้ำบ่อยๆเพื่อลดภาวะเลือดข้นทำให้การไหลเวียนโลหิตดี
สังเกตอาการของสมองขาดออกซิเจน เช่นกระสับกระส่ายหายใจเร็วและแรงขึ้นหอบเหนื่อยและมีภาวะ cyanosis เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทัน
6.Record I/O, V/S, Oxygen saturation, Hct
7.ให้ยาเสริมธาตุเหล็ก Ferrous sulcate และอาหารที่มีธาตุเหล็ก ในเด็กที่ Hct<50% และตรวจพบmicrocytic hypochromic
B6129378 นางสาวจุฑารัตน์ ศรีขันตรี Sec2 :<3: :warning: