Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในการดูแลสุขภาพมารดาและทารก - Coggle Diagram
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่น
มาใช้ในการดูแลสุขภาพมารดาและทารก
กลุ่มที่ 2
เหตุผลที่ทำสอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์
แต่เป็นการดูแลที่ไม่เป็นประโยชน์
การอยู่ไฟในสมัยโบราณจะช่วยให้ฝีเย็บติดกันเร็วขึ้นแต่ในปัจจุบันไม่จำเป็นเพราะมีการเย็บฝีเย็บ
ห้ามคนเพิ่งคลอดลูกสระผมเนื่องจากในสมัยก่อนจะอาบน้ำสระผมที่ท่าน้ำและต้องก้มหัว
ทำให้คนที่เพิ่งคลอดลูกมีอาการเวียนศีรษะ หน้ามืดและพลัดตกไปในน้ำได้ แต่ปัจจุบันสามารถไปสระผลที่ร้านเสริมสวยได้
ห้ามคนคลอดลูกขึ้นบรรไดเนื่องจากในสมัยก่อนไม่มีการเย็บฝีเย็บ
อาจทำให้มดลูกย่อนแต่ในปัจจุบันสามารถเดินได้เพราะมีการเย็บฝีเย็บแล้ว
กลุ่มที่ 4
เหตุผลที่ทำที่ไม่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์
และเป็นการดูแลที่ไม่เป็นประโยชน์
ห้ามเย็บผ้า เพราะจะทำให้ลูกปากแหว่ง
ห้ามกินหอย เพราะทำให้คลอดยาก
ห้ามกินเห็ดเพราะจะทำให้ไม่มีน้ำนม
ห้ามนั่งขวางประตู เพราะจะทำให้คลอดลูกไม่ออก
ห้ามกินเฉาก๊วย เพราะจะทำให้ลูกตัวดำ
กลุ่มที่ 3
เหตุผลที่ทำที่ไม่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์
แต่เป็นการดูแลที่เป็นประโยชน์
ให้คนท้องติดเข็มกลัดเมื่อไปงานศพเพื่อเป็นสัญลักษณ์แสดงว่ากำลังตั้งครรภ์
ห้ามเตรียมของใช้ก่อนคลอดเนื่องจากเป็นการซื้อของเกินความจำเป็น
ห้ามนั่งขวางบันได เพราะจะทำให้เกิดการพลัดตกได้
ห้ามคนท้องผ่ามะพร้าวเพราะจะทำให้เกิดอุบัติเหตุจากการใช้อุปกรณ์
ห้ามอาบน้ำตอนกลางคืนเพราะจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
เนื่องจากในสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้
ห้ามไปร่วมงานศพ เพราะจำให้จิตใจหดหู่
กลุ่มที่1
เหตุผลที่ทำสอดคล้องกับหลัก
วิทยาศาสตร์และการดูแลเป็นประโยชน์
ห้ามคนท้องนินหงาย เพราะจะทำให้ความดันโลหิตต่ำ มีอาการหน้ามืด เวียนหัว ตาลาย
ห้ามสวมใส่รองเท้าส้นสูงเพราะจะให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
ให้รับประทาน
ให้รับประทานหัวปลีเพื่อช่วยเพิ่มน้ำนม
ให้รับประทาน ขิง ข่า หัวว่านไฟ ตะไคร้ เพื่อบารุงเลือดและขับลม
การห้ามรับประทาน
ห้ามรับประทานหน่อไม้ดอง เพราะจะทำให้ท้องเสีย
ห้ามรับประทานผักจำพวกเครือ เชาว์เพราะจะทำให้ปอดเมื่อยตามตัว
ห้ามรับประทานทุเรียน เพราะจะทำให้เกิดร้อนใน