Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปเข้ากลุ่มครั้งที่ 3 การประเมินและการพยาบาล ผู้คลอด 2…
สรุปเข้ากลุ่มครั้งที่ 3
การประเมินและการพยาบาล
ผู้คลอด 2 ชั่วโมงหลังคลอด
การประเมินสภาพ
ร่างกายทั่วไป
การรวบรวมข้อมูลประวัติ
การตั้งครรภ์และการคลอดครรภ์ปัจจุบัน
เช่น ครรภ์ที่เท่าไร อายุครรภ์เมื่อคลอด
ยาที่ได้รับขณะคลอด คลอดโดยวิธีใด
การวัดสัญญาณชีพ ทั้งอุณหภูมิ
ชีพจร ความดันโลหิต และการหายใจ
เพราะจะเป็นสัญญาณที่บอกความปกติ
หรือภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เช่น
ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำอาจเกิด
ภาวะ Hypovolemic shock
ให้ประเมินสภาพการหดรัดตัวของมดลูก
ดู ขนาด ต าแหน่ง และความสูงของ
มดลูก มดลูกที่หดรัดตัวดีจะมีลักษณะ
กลมแข็ง ต่ ากว่าระดับสะดือ
ควรจะประเมินสภาวะของ
กระเพาะปัสสาวะ
ว่าเต็มหรือว่างเพราะถ้ามีปัสสาวะ
คั่งค้าง จะทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
น้ำคาวปลา (Lochia)
มีลักษณะสีแดงสด
(Bleeding) ต้องคาดคะเนปริมาณโลหิต
Perineum
ควรประเมินสภาพของ
ช่องทางคลอดและแผลฝีเย็บว่า
มีภาวะ Hematoma
ความไม่สุขสบายต่าง ๆ
ประเมินอาการอ่อนเพลีย ความเจ็บปวด
การรับรู้ต่อสิ่งแวดล้อมภายหลังคลอด
หลักการประเมิน 13
สำหรับมารดา
หลังคลอด
1) Black ground
2) Body condition
3) Body temperature and
blood pressure
4) Breast and lactation
5) Belly and fundus
6) Bowel movement
7) Bladder
8) Bleeding and lochia
9) Bottom
10) Blues
11) Baby
12) Bonding and
attachment
13) Belief
การประเมิน
สภาวะด้านจิต
-สังคม
:check:ประเมินความรู้สึกต่อการคลอดหรือ
สังเกตปฏิกิริยาที่แสดงออกกับ
ทารกว่าเป็นอย่างไร อย่างไรก็ตาม
มารดาจะอ่อนเพลียไม่ควรรบกวน
มารดามากเกินไปและดูแลให้
พักผ่อนเต็มที่
การดูแลมารดาหลัง
คลอด 2 ชั่วโมง
:check:จัดให้มารดานอนหงายราบใน
ท่าที่สบาย ให้นอนหนีบขาเข้า
หากัน เพื่อให้แผลที่เย็บไม่ตึงเกินไป
:check:ดูแลร่างกายของมารดาให้สะอาด
โดยเปลี่ยนผ้าที่เปียก เปรอะเปื้อนออก
:check:สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
ทุก 15 นาที ใน 1 ชั่วโมงแรก
หลังคลอด และทุกสามสิบนาที
ในชั่วโมงที่สอง ปกติยอดมดลูก
หลังคลอดจะอยู่ต่ำกว่าสะดือ 4 ซม.
:check:สังเกตจำนวนและลักษณะของเลือด
ที่ออกทางช่องคลอด ปกติจะมีการเสีย
เลือดหลังรกคลอดแล้ว 100 - 200 ซีซี.
:check:ตรวจดูกระเพาะปัสสาวะให้ว่างอยู่เสมอ
ภายหลังคลอดจะมีการขับถ่าย
น้ำออกจากร่างกายมาก
:check:วัดความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ
ทุก 15 นาที ในชั่วโมงแรกหลังคลอด
วัดทุก 30 นาทีในชั่วโมงที่สองหลังคลอด
:check:การวัดอุณหภูมิ ภายหลังคลอด
อุณหภูมิอาจสูงหรือต่ำกว่าปกติ
ถ้าสูงกว่า37.7 องศา เรียกว่า
Reactionary fever
:check:ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายของมารดา
การห่มผ้าเพื่อป้องกันอาการหนาวสั่น
ในระยะหลังคลอด
:check:หลังการคลอดมารดาจึงกระหายน้ำ
ดังนั้นจึงควรให้มารดาดื่มน้ำ อาจเป็น
น้ำเปล่าหรือน้ำผลไม้ก็ได้
:check:มารดาที่มีแผลที่ฝีเย็บ หรือมีการหดรัดตัว
ของมดลูกที่รุนแรง จะมีผลให้มารดา
เจ็บปวดมาก ควรให้ยาแก้ปวดหรือ
ยานอนหลับ
หลักการประเมิน 5B
1) Black ground and Body condition
คือ การตรวจสอบประวัติการคลอดและ
การตรวจร่างกายทั่วไปเพื่อดูระดับ
ความรู้สึกตัว ดูภาวะซีดประเมินและ
วัดสัญญาณชีพตั้งแต่หลังรกคลอด
ทันทีและติดตามทุก 15 นาทีใน 1
ชั่วโมงแรก ทุก 30 นาทีในชั่วโมงที่
2-4 ทุก 4 ชั่วโมงจนครบ 24 ชั่วโมง
แรก หลังคลอด
2) Breast and Lactation
คือ การประเมิน
ลักษณะของเต้านม หัวนม และการไหล
ของน้ำนมทารกเข้าเต้าเพื่อดูดนม
มารดาโดยเร็วและดูดบ่อยทุก 2- 3 ชั่วโมง
เป็นการช่วยกระตุ้นการทำงานฮอร์โมน
ออกซิโทซิน ช่วยให้มดลูกหดรัดตัวดี
5) Bladder and Uterus
คือ เป็นการประเมินกระเพาะปัสสาวะ
ว่ามีโป่งตึง มีน้ำปัสสาวะคั่งค้างหรือไม่
เพื่อการมีน้ำปัสสาวะคั่งค้าง จะทำให้
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
3) Bleeding ,Lochia and Episiotomy
คือ ประเมินลักษณะและปริมาณของเลือด
หรือน้ำคาวปลาที่ออกจากช่องคลอดและ
ทำบันทึกทุก 15 นาที ในระยะ 2 ชั่วโมง
แรก บันทึกทุก 1-2 ชั่วโมงในระยะ 4
ชั่วโมงหลังคลอด ตรวจความผิดปกติทุกๆ
8 ชั่วโมง
โดยใช้หลัก REEDA Scale ประเมินดังนี้
:check:Redness คือ แผลมีลักษณะ แดงอักเสบหรือไม่
:check:Edema คือ แผลมีลักษณะบวม หรือไม่
:check:Ecchymosis คือ แผลมีรอยจ้ำเลือด หรือไม่
:check:Discharge คือ แผลมีเลือดน้ำเหลือง
หนอง หรือไม่
:check:Approximate คือ แผลฝีเย็บ ขอบเรียบ
ชิดติดกันหรือไม่
4) Bottom
คือ การประเมินทวารหนัก
และอวัยวะโดยรอบว่ามีอาการบวม
มีเลือดคั่งหรือไม่
นางสาวสุธิตา หมื่นนันทะ เลขที่ 141
รหัสนักศึกษา 612401144 ชั้นปีที่ 2