Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสุขภาพเพื่อการวินิจฉัยแยกโรค - Coggle Diagram
การประเมินสุขภาพเพื่อการวินิจฉัยแยกโรค
Shock
Hypovolemic shock
อาการแสดง
BP < 90/60,pulse เบาเร็ว
ตัวซีด เย็น เหงื่อออก
ปัสสาวะน้อยหรือไม่มีปัสสาวะ
ความรู้สึกตัวลดลงหรือหมดสติ
หายใจเร็วถี่ ไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
Oxygen supplement
IV fluid ประเภท Crystalloid (NSS, RLS)
ประเมิน CVP keep 8-12 cmH2O หรือจากอาการทางคลีนิค PR,BP หรือ urine output
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติ
urine specific gravity
BUN / Cr ratio ,CBC
การประเมิน
ซักประวัติ
การสูญเสียเลือด
อาการเหนื่อย นอนราบไม่ได้ เจ็บหน้าอก
ประวัติการทานสมุนไพร ยาหม้อ ยาชุด การได้รับsteriod
ตรวจร่างกาย
ประเมินภาวะ dehydration
ตรวจร่างกายเพื่อแยก cardiogenic shock ออกไป
engorgement of JVP
crepitation both lung
liver enlargement pitting edema
ตรวจร่างกายหาลักษณะของ cushingoid apperance
moon face
buffalo hump
truncal obesity
stria purpura
Cardiogenic shock
การตรวจพิเศษ
CXR
EKG
BP <90/60 mmHg. Pluse pressure <20 mmg. MAP <60 mmHg.
กระสับกระส่าย ซีพจรเบาเร็ว เหงื่อออกตัวเย็นกระหายน่าออนเพลีย
ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกเลย
หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
แน่นหน้าอกหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Neurogenic shock
ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว
อ่อนเพลีย อาเจียน เป็นลม ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกเลย
หายใจเร็วขึ้น มือเท้าอุ่น ผิวหนังแดง
Mixed type shock
การช็อคที่มีหลายสาเหตุร่วมกัน
Burns
การประเมินขนาดของบาดแผล
ศีรษะ 9 %
ลำตัวด้านหน้า 18 %
ลำตัวด้านหลัง 18 %
แขนถึงฝ่ามือ 9 %
ขาถึงเท้า 18 %
อวัยวะเพศ 1 %
การประเมินความลึกของบาดแผล
First degree burn
ทำลายเฉพาะชั้นหนังกำพร้า
Second degree burn
ทำลายชั้นหนังกำพร้าและบางส่วนของหนังแท้
Third degree burn
ผิวหนังถูกทำลายทุกชั้น
หลักการการดูแล
Aseptic technic ในการดูแลบาดแผล
Isolation แยกคนไข้ออกจากคนไข้ประเภทอื่น ควรให้อยู่เป็นห้อง ๆ แยกจากกันบรรยากาศภายในห้อง
การให้ยาปฏิชีวนะยาปฏิชีวนะที่สำคัญ ได้แก่ topical antibacterial agent ส่วนการให้ยาปฏิชีวนะแบบ systemic ไม่แนะนำให้ใช้ใน
การกำจัดเนื้อตายซึ่งเป็นต้นตอของเชื้อโดยเฉพาะเนื้อตายที่อยู่ที่แผลลึกควรกำจัดออกแล้วทำความสะอาด
พยายามหาทางปิดแผลให้เร็วที่สุดเท่าที่จะกระทำได้เช่นการใช้ skin grafting
การประเมินผู้ป่วย
สถานที่เกิดเหตุ : ที่ปิดทึบหรือที่โล่งแจ้ง
ประวัติการระเบิด ถ้ามีให้ระวังถึงการบาดเจ็บร่วม เช่น ช่องท้องหรือช่องอกถูกกระแทก
เวลาที่เกิดการบาดเจ็บ เพื่อที่จะใช้เป็นตัวบอกถึงความเร็วของสารน้ำที่ต้องให้แก่ผู้ป่วย เนื่องจากปริมาณสารน้ำที่คำนวณได้นั้น จะแบ่งครึ่งหนึ่งให้กับผู้ป่วยภายใน 8 ชม. แรกหลังจากมีการบาดเจ็บ
ประวัติโรคประจำตัวและยาที่ทานอยู่เป็นประจำ
การตรวจร่างกาย
ประมาณความรุนแรงของแผลไหม้
ตรวจหาการบาดเจ็บร่วม
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วย
ตรวจวัด vital sign และบันทึกไว้เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
การรักษาแผลไหม้เฉพาะอย่าง
Chemical burns
กรด ด่าง หรือสารปิโตรเลียม
รีบกำจัดสารเคมีออกจากบาดแผล
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดจำนวนมากอย่างน้อย 20-30 นาที
แผลไหม้จากด่างจะรุนแรงกว่าแผลไหม้จากกรด
ถ้าสารเคมีเป็นผง ให้ปัดออกจากผิวหนังก่อนล้างด้วยน้ำสะอาด
ไม่ใช้สารที่ทำให้เป็นกลางล้างแผล
ระยะเวลาที่สัมผัสถูกสารเคมี ยิ่งล้างออกเร็วยิ่งดี
Electrical burns
มักจะมีความรุนแรงกว่าบาดแผลที่มองเห็นภายนอก
ระวังภาวะกล้ามเนื้อสลายตัว
ถ้าปัสสาวะมีสีเข้มกว่าปกติ ให้เพิ่มสารน้ำ
หลักการช่วยชีวิตเบื้องต้น
การหายใจ ป้องกันทางเดินหายใจอุดกั้น
หยุดกระบวนการไหม้
ถอดเสื้อผ้าที่ร้อนออกโดยเร็ว
ให้สารน้ำกู้ชีพ
พิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย
งูกัด
Neurotoxin
งูเห่า งูจงอาง งูสามเหลี่ยม
Hemotoxin
งูแมวเซา งูกะปะ งูเขียวหางไหม้
Myotoxin
งูทะเล
พิษอ่อน
งูปล้องทอง งูลายสาบคอแดง งูหัวกะโหลก
การช่วยเหลือเบื้องต้น
จดจำสีและรูปร่างของงู
ควรปลอบผู้ที่ถูกงูกัดให้ใจเย็นและไม่ตื่นตัว
รีบแจ้งโรงพยาบาล
ควรปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เคลื่อนย้ายอวัยวะที่ถูกงูกัดให้อยู่ต่ำกว่าระดับหัวใจ
ปลดเสื้อผ้าที่รัดแน่นให้หลวม
ล้างแผลที่ถูกงูกัดด้วยน้ำสะอาด
ทำความสะอาดแผลให้แห้งและปิดแผลให้เรียบร้อย
การรักษา
ฉีดเซรุ่มแก้พิษ
ดูแลแผลงูกัด
สุนัข แมว คนกัด
ทำความสะอาดบาดแผลทันทีด้วยน้ำและสบู่เช็ดรอบแผลด้วยแอลกอฮอล์ 10% และทาเบตาดีนและพาคนเจ็บไปพบแพทย์เพื่อฉีดบาดทะยักหรือวัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า
ผึ้ง ต่อ แตนต่อย
พยายามเอาเหล็กในออกให้หมดโดยใช้วัตถุที่มีรูเช่นลูกกุญแจกดลงไปตรงรอยที่ถูกต่อยเหล็กในโผล่ขึ้นมาให้คบออกได้
ใช้ผ้าชุบน้ำยาที่ฤทธิ์ต่างอ่อน เช่นน้ำแอมโมเนีย น้ำโซดาไบคาบอร์เนตน้ำปูนใส ทาบริเวณแผลให้ทั่วเพื่อนำฤทธิ์กรดที่ค้างอยู่ในแผล
อาจมีน้ำแข็งประคบบริเวณที่ถูกต่อยถ้าแผลบวมมาก
ถ้ามีอาการปวดให้รับประทานยาแก้ปวดถ้าคันหรือผิวหนังมีผื่นขึ้นให้รับประทานยาแก้แพ้
ถ้าอาการไม่ทุเลาลงควรไปพบแพทย์
แมงป่องหรือตะขาบ
ใช้สายรัดหรือขันชเนาะเหนือบริเวณเหนือบาดแผลเพื่อป้องกันไม่ให้พิษแพร่กระจายออกไป
พยายามทำให้เลือดไหลออกจากบาดแผลให้มากที่สุดอาจทำได้หลายวิธีเช่นเอามือบีบเอาวัตถุที่มีรูกดให้แผลอยู่ตรงกลางพอดีเลือดจะได้พาเอาพิษออกมาด้วย
ใช้แอมโมเนียาหอมหรือทิงเจอร์ไอโอดี 2.56 ทาบริเวณแผลให้ทั่ว
ถ้ามีอาการบวมอักเสบและปวดมากใช้ก้อนน้ำแข็งประคบบริเวณแผลเพื่อช่วยบรรเทาความเจ็บปวดด้วย
ถ้าอาการยังไม่ทุเลาลงต้องรีบนำส่งแพทย์
แมงกะพรุนไฟ
ใช้ผ้าเช็ดตัวหรือทรายขัดถูบริเวณที่ถูกพิษแมงกะพรุนไฟเพื่อเอาพิษที่ค้างอยู่ออกหรือใช้ผักบุ้งทะเลซึ่งหาง่ายและมีอยู่บริเวณชายทะเลโดยนำมาล้างให้สะอาดตำปิดบริเวณแผลไว้
ใช้น้ำยาที่มีฤทธิ์เป็นค่างเช่นแอมโมเนียหรือน้ำปูนใสชุบสำลีปิดบริเวณผิวหนังส่วนนั้นนาน ๆ เพื่อฆ่าฤทธิ์กรคจากพิษของแมงกะพรุน
3 ให้รับประทานยาแก้ปวด
ถ้าอาการยังไม่ทุเลาลงให้รีบนำส่งแพทย์โดยเร็ว