Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 : การพยาบาลทารกแรกเกิด ที่มีภาวะเสี่ยงสูง และมีปัญหาสุขภาพ -…
บทที่ 7 : การพยาบาลทารกแรกเกิด ที่มีภาวะเสี่ยงสูง และมีปัญหาสุขภาพ
ทารกที่มีอายุครรภ์และน้ำหนักตัวไม่เหมาะสมตามเกณฑ์
ทารกคลอดเกินกำหนด
ลักษณะ
ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ผิวหนังมีขี้เทา แห้งลอก
ลำตัวผอมยาว
ไม่มีไขหรือขนอ่อน
ตาเปิดกว้าง
เล็บยาว
ทารกมีลักษณะตื่นตัว
ภาวะแทรกซ้อน
hypoglycemia
MAS
perinatal asphyxia
polycythemia
PPHN
สาเหตุ
ตั้งครรภ์ครั้งที่5ขึ้นไป
มีประวัติระยะเวลาในการคลอดล่าช้า
ครรภ์แรก
หมายถึง : ทารกที่คลอดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์
การรักษา
suction ก่อนทารกคลอดลำตัวและใส่สาย NG เพื่อดูดขี้เทาที่อยู่ในระดับลึกก่อนที่ทารกจะหายใจครั้งแรก
ช่วยเหลือการหายใจ ตรวจ blood gas , x-ray
การประเมินทารกด้วย NST , CST และให้คลอดเมื่ออายุครรภ์ 43 สัปดาห์
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ glucose , hematocrit , bilirubin
การอัลตราซาวน์เพื่อประเมินอายุครรภ์และความผิดปกติของทารก
ทารกน้ำหนักน้อยกว่าอายุครรภ์ (SGA)
สาเหตุ
โรคไต
ตั้งครรภ์แฝด
โรคหัวใจ
มีความผิดปกติทางโครโมโซม
มีภาวะซีดเรื้อรัง
ติดเชื้อ TORCH
ซิฟิลิส
มารดาติดสารเสพติด สุรา สูบบุหรี่
ภาวะแทรกซ้อน
hypoglycemia
hypothermia
perinatal asphyxia
polycythemia
MAS / PPHN
ปัจจัย
ที่อยู่อาศัยบนที่สูง
ความผิดปกติของโครโมโซม
เพศ
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR) ส่งผลให้ทารกน้ำหนักน้อยกว่าอายุครรภ์ เนื่องจากได้รับออกซิเจนและสารอาหารไม่เพียงพอขณะอยู่ในครรภ์
พันธุกรรม
ความหมาย : ทารกที่น้ำหนักตัวต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10
การรักษา
ดูดน้ำคร่ำและช่วยกู้ชีพเมื่อคลอด
ให้คลอดเมื่อครรภ์ใกล้ครบกำหนดหรือทารกอาจไม่ปลอดภัย
ดูแลควบคุมอุณหภูมิร่างกายและให้ดูดนมแม่โดยเร็วหลังคลอด
การอัลตราซาวน์เป็นระยะเพื่อประเมินความพิการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC , TORCH titer , urine CMV , drug screening , chromosome studies , total bilirubin
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ภาวะแทรกซ้อน
ขาดการส่งเสริมสัมพันธภาพของมารดาและทารก
RDS
มีภาวะไม่สมดุลย์ของสารน้ำและอิเลคโทไลต์
IHV
ROP
การวินิจฉัย
อายุครรภ์ Ballard score
ลักษณะ
กระโหลกศีรษะนุ่ม
เปลือกตาบวม ตามักปิดตลอดเวลา
การเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ศีรษะขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว
ไขมันคลุมตัวมีน้อยหรือไม่มีเลย
พบขนอ่อน (lanugo hair) ได้ที่บริเวณใบหน้า หลังและแขน
การรักษา
การติดตามผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ให้ยาตามแผนการรักษา เช่นยาปฏิชีวนะ การให้สารลดแรงตึงผิวของปอด
การปรับอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมแก่ทารก
ประเมินภาวะโภชนาการ
การะประเมินการหายใจ
สาเหตุ
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดตามหลังการแตกของถุงน้ำคร่ำ
จากการชักนำการคลอดเนื่องจากมีข้อบ่งชี้
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ครรภ์แฝด
หมายถึง : ทารกคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
ทารกที่มีขนาดใหญ่กว่าอายุครรภ์ (LGA)
ภาวะแทรกซ้อน
hypoglycemia
polycythemia
Obstasric trauma : shoulder dislocation brachial plexus injury , CNS
การรักษา
ประเมินการบาดเจ็บของทารกเพิ่มเติมจาก x-ray , CT scan
ประเมินระดับน้ำตาลในเลือด
คาดคะเนขนาดทารกกับเชิงกรานมารดา อาจวางแผนผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
สาเหตุ
hydrops fetalis
transposition of the great vessels (การมีหลอดเลือดใหญ่อยู๋ผิดที่)
เพศ(ชายมักมีขนาดตัวใหญ่กว่าหญิง)
beckwith-wiedemann syndrome
กรรมพันธุ์(บิดามารดารูปร่างใหญ๋)
มารดาเป็นเบสหวาน ทารกแฝดที่เป็นผู้รับเลือด (parabiotic syndrome in twin)
ความหมาย : น้ำหนักเกินกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะหายใจลำบาก
การรักษา
ให้ออกซิเจน
รักษาระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดอยู่ถึง90-95%
ช่วยหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจเมื่อมีข้อบ่งชี้
สาเหตุ
ภาวะคัดจมูก
เกิดจาการใช้ลูกยางแดงดูดจมูกในห้องคลอดทารกจะมีอาการแสดงของภาวะหายใจลำบากร่วมกับการได้ยินเสียงคัดจมูก
หยุดน้ำเกลือเข้ารูจมูกข้างละ5หยด ทุก2-3ชั่วโมง หากยังไม่ดีขึ้นใช้ 0.5% ephedine
หลีกเลี่ยงการใช้ลูกสูบยางแดง ควรใช้ผ้าซับที่รูจมูกแทน
transient tachypnea of newborn (TTN)
เป็นภาวะผิดปกติที่พบบ่อย เกิดจากอาการบวมน้ำในปอด ซึ่งเป็นผลมาจากการจัดการน้ำในหูลงช้ากว่าปกติหายใน48-72ชม
มารดาเป็นเบาหวาน
มารดาเป็นหอบหืด
คลอดก่อนกำหนด,ผ่าท้องโดยไม่เจ็บครรภ์
ครรภ์แฝด
respiratory distress syndrome (RDS)
จากการคลอดก่อนกำหนดหรือหากคลอดโดยที่ยังไม่มีอาการเจ็บครรภ์
เกิดจากปอดมีสารลดแรงตึงผิวไม่เพียงพอ
Meconium aspiratory syndrome (MAS)
เป็นภาวะที่ทารกมีอาการหายใจลำบากจากการสำลักขี้เทาขณะคลอด
ทารกแรกเกิดจากมารดาเป็นเบาหวาน
ปัญหาที่พบ
ปัญหาจากการคลอดยากเนื่องจากทารกตัวใหญ่
ปัญหาในระยะต่างๆ เกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
การรักษา
รักษาด้วยการผ่าตัดหรือกายภาพบำบัด
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในทารกที่ดูดนมเร็วและให้นมทารกบ่อยขึ้น ทุก2ชม
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะติดเชื้อ
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
การรักษาประคับประคองการรักษา ภาวะช็อก
ติดเชื้อในระยะหลัง
เกิดระหว่าง72ชมหรือสัปดาห์แรกหลังเกิดการติดเชื้อในรพ.
ปัจจัยเสี่ยง
เกิดก่อนกำหนด
น้ำหนักตัวทารก
สิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วย
อาการ
หัวใจเต้นมากกว่า180ครั้ง/นาที หายใจเร็ว หายใจหน้าอกบุ๋ม
มีจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง
อาจมีไข้อุณหภูมิต่ำ ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
ติดเชื้อในระยะแรก
เกิดขึ้นก่อน 72 ชมหลังคลอด เป็นการติดเชื้อที่ติดจากมารดาสู่ทารกในครรภ์ มักพบในทารกแรกเกิดก่อนกำหนด ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด การคลอดล่าช้า การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
ทารกแรกเกิดที่บาดเจ็บจากการคลอด
ลักษณะ
การบาดเจ็บต่อกระดูก
กระดูกไหปลาร้าหัก : มักเกิดในทารกตัวโตคลอดติดไหล่ ส่วนมากกระดูกหักไม่แยกออกจากกัน ทารกไม่แสดงถึงอาการปวด ยกแขนได้ตามปกติ
การบาดเจ็บต่อระบบประสาท
facial nerve palsy : เกิดจากศีรษะทารกกดกับกระดูก sacrum ของมาดาขณะผ่านช่องทางคลอด ทำให้ CN7 บาดเจ็บ ทารกไม่สามารถย่นหน้าผากและมุมปากข้างนั้นขยับไม่ได้
brachial plexus palsy
complete brachial plexus palsy
klumpke's paralysis
erb's palsy
การบาดเจ็บเนื้อเยื่อ
caput succedaneum : เป็นการบวมน้ำในหนังศีรษะ เกิดจากหลอดเลือดถูกบีบรัด การบวมพับทันทีหลังเกิดหนังศีรษะที่บวมจะข้ามรอยประสานกระดูกและตึง จะหายใน24ชม
cephalhematoma : เป็นเลือดที่สะสมอยู่ใต้เยื่อหุ้มกระโหลกศีรษะ ก้อนค่อยๆโตขึ้นและปรากฎใน24ชม หลังเกิด
subaponeurotic hemorrhage : เป็นภาวะที่มีเลือดสะสมใต้พังพืด epicranium aponeurosis การบวมปรากฎหลังเกิดหลายชม เลือดอาจเซาะทั่วศีรษะถึงหน้าผาก ขมับด้านข้างและท้ายทอย
การรักษา
การรักษาเฉพาะโรค ถ้าเลือดคั่งในสมอง จำเป็นต้องเจาะออก ถ้าเลือดออกอวัยวะภายในต้องให้เลือด
ทำกายภาพบำบัด
การรักษาเฉพาะที่ สำหรับทารกที่มีการบาดเจ็บเนื้อเยื่อให้ฉีด vitamin K ถ้ามีผิวหนังถลอกให้ฟอกด้วยสบู่ฆ่าเชื้อ
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลือง
การรักษา
การถ่ายเปลี่ยนเลือด (exchange transfusion) : เป็นการลดระดับ bilirubin ในเลือดออกจากร่างกายทารกให้เร็วที่สุด
การส่องไฟ (phototherapy) : เป็นการรักษาที่ลดระดับbilirubin และป้องกันไม่ให้ bilirubin สูงขึ้นจนถึงระดับที่เป็นอันตรายต่อสมอง
intravenous immunoglobulin
phenobarbital เพื่อช่วยการทำงานของเนไซม์ UGT ใช้ในทารกรายที่เป็น crigler-najjar syndrome type2
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ใช้นิ้วกดที่ผิวหนังเพื่อรีดเลือด
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับ bilirubin ในเลือดเพิ่มขึ้นเร็วมากกว่า0.5mg/dl/hr
มากกว่า5mg/dl เมื่อติดตามห่างกัน 24 ชม
ค่า total serum bilirubin สูงกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 95
มีอาการตัวเหลืองเกิน 14 วัน
ระดับbilirubin สูงถึงเกณฑ์
การซักประวัติอายุครรภ์ของทารกที่เริ่มมีภาวะตัวเหลือง อายุครรภ์ที่คลอดก่อนกำหนด ประวัติหมู่เลือดของมารดา ทารกเป็นลูกคนที่เท่าไร ประวัติครอบครัวเรื่องภาวะตัวเหลือง ชนิดของนมที่ใช้เลี้ยง
การจำแนกภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
physiologic jaundice
เกิดจากเม็ดเลือดแดงของทารกแรกเกิดอายุสั้น ทำให้ทารกแรกเกิดสร้างบิลิรูบินมากกว่าผู้ใหญ่2-3เท่าโดยเฉพาะวันแรกหลังเกิด ไม่ต้องการการรักษา
pathological jaundice
เกิดจากการสร้างบิลิรูบินเพิ่มขึ้น ลำไส้ดูดซึมบิลิรูบินเพิ่มขึ้นหรือการทำงานของตับผิดปกติต้องได้รับการรักษา
ทารกแรกเกิดจากมารดาติดสารเสพติด
เฮโลอีน
แท้งเฉียบพลัน
ยาเค
ประสาทหลอน เกิดภาพเหมือนฝัน
กัญชา
น้ำหนักตัวน้อย
พัฒนาการล่าช้า
คลอดก่อนกำหนด
ร้องเสียงแหลม
แอมแฟตามีน
หัวใจพิการแต่กำเนิด
ภาวะเลือดออกในสมอง
น้ำหนักน้อย
แอลกอฮอล์
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
ช่องตาสั้น จมูกแบน
กะโหลกศีรษะเล็ก
มีปัญหาด้านความจำ
ปัญญาอ่อน
การวินิจฉัย
neonatal adstinence score
บุหรี่
เชาว์ปัญญาบกพร่อง
ซุกซนมากผิดปกติ สมาธิสั้น
การรักษา
รักษาด้วยยา
tincture opium
chlorpromazine
ฟีโนบาร์บิทอล
diazepam
การรักษาแบบประคับประคอง