Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.3 การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์ - Coggle Diagram
5.3 การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์
การชักนำการคลอด
การใช้ยา
การใช้ Prostaglandins
-PGE2 PGE1
การใช้ยาอื่นๆ
RU-486 NO
การใช้ Oxytocin ทางหลอดเลือดดำ
การพยาบาล
-อธิบายให้ผู้คลอดทราบให้เข้าใจถึงขั้นตอนการทำ
-ขณะให้ยา เฝ้าดูและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก ฟัง FHS สังเกตอาการผิดปกติ เช่น เขียว หสยใจลำบาก
การใช้หัตภการร่วมกับการใช้ยา
การทำหัตถการ
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การกระตุ้นเต้านม
คือ การนวดคลึงหรือการดูด จะช่วยส่งเสริมให้มีการหลั่ง oxytocin
การเซาะแยกถุงน้ำคร่ำ
คือ การสอดนิ้วชี้เข้าไปในรูปากมดลูกให้ลึกที่สุด โดยหมุนรอบให้ครบ 360 องศา เพื่อเซาะแยกถุงน้ำ
การใช้บอลลูลูนถ่างขยายปากมดลูก
โดยการสอดบอลลูนผ่านเข้าไปในรูปากมดลูก หลังจากนั้นใส่น้ำเข้าไป และดึงออกมาเล็กน้อย เพื่อให้ถ่วงบริเวรปากมดลูก
การใช้ Hygrocopic Dilators
การทำคลอดด้วยคีม
Forceps extraction
ข้อบ่งชี้ในการช่วยคลอดด้วยคีม
ด้านมารดา
1.มารดาไม่มีแรงเบ่ง
2.มารดามีข้อห้ามในการเบ่ง
3.ระยะที่ 2 ของกาารคลอดยาวนานกว่าปกติ
4.ไม่มีความก้าวหน้าของการคลอดในระยะที่ 2
5.การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
6.คลอดท่าก้น ใช้คีมช่วยคลอดศีรษะ
ด้านทารก
1.ทารกมีภาวะได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
2.ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
การตัดฝีเย็บ
สามารถตัดฝีเย็บก่อนใส่คีมหรือก่อนดึงคีม
ภาวะเเทรกซ้อนของการทำคลอดด้วยคีม
ต่อมารดา
-การฉีกขาดของช่องทางคลอด
-อันตรายต่อกระเพาะปัสสาวะ
-การหย่อนของกล้ามเนื้อ เอ็นยึด
-อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน
-ตกเลือดหลังคลอด ติดเชื้อ
ต่อทารก
-อันตรายต่อกะโหลกศีรษะทารก ต่อเส้นประสาท facial nerve
-กระบอกตาถูกบีบ
-หูหนวก
-มีภาวะขาดออกซิเจน
การช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสูญญากาศ
Vaccum extraction
ข้อบ่งชี้ในการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสูญญกาศ
ด้านมารดา
1.การคลอดระยะที่ 2 ยาววนานหรือหยุดชะงัก
2.มารดามีโรคที่ไม่ควรออกเเรงเบ่ง
3.การหดรัดตัวมดลูกไม่ดี
ด้านทารก
1.ศีรษะทารกไม่หมุนตามกลไก
2.มีภาวะ fetal distress
3.8]vfc/f8omuj 2
ข้อห้ามที่ไม่ควรใช้เครื่องดูดสูญญากาศ
1.ทารกท่าผิดปกติ
2.มีการผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกและช่องเชิงกราน
3.คลอดก่อนกำหนด
4.มีการพลัดต่ำของสายสะดือ
5.ทารกมีขนาดใหญ่
6.รายที่ศีรษะอยู่สูงเหนือทางเช้าช่องเชิงกราน
ข้อดีของการใช้เครื่องดูดสูญญากาศ
-เครื่องมือไม่กินเนื้อที่ส่วนกว้างของช่องคลอด
-ขณะช่วยคลอดศีรษะทารกหมุนตามกลไกการคลอด
-ช่วยกระตุ้นปลายประสาทปากมดลูก
-ใช้เวลาน้อย
ข้อเสียของการใช้เครื่องดูดสูญญากาศ
ต่อมารดา
-การฉีกขาดของปากมดลูก
-ตกเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
-cephalhematoma
-caput succedaneum
กาารผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
Ceasarean section
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง
ผ่าตัดคลอดชนิดสมบูรณ์
-คลอดติดขัด
-รกเกาะต่ะ
-ความผิดปกติของเชิงกราน
-มะเร็งปากมดลูก
-ภาวะสายสะดือย้อย
ผ่าตัดคลอดชนิดอนุโลม
-เคยผ่าตัดที่ผนังหหน้าท้อง
-มีเลือดออกในระยะหลังตั้งครรภ์
-ครรภ์แฝด
ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการทำผ่าตัด
การอักเสบของแผลผ่าตัด
มีเลือดออกภายในช่องท้อง
เกิดการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
การอักเสบ ติดเชื้อ
ท้องอืด
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายนอก
External Cephalic Version ECV
ข้อบ่งห้ามโดยอนุโลม
-ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
-อ้วนมาก
-มีแผลผ่าตัดที่ตัวมดลูกมาก่อน
-ก้นลงสู่เชิงกรานแล้ว
-รกเกาะต่ำ
ข้อบ่งชี้
1.ท่าก้น
2.ท่าขวาง
3.แฝดคนที่2ที่ไม่ใช่ท่าหัว
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกแตก
เลือดทารกรั่วเข้าสู่เลือดมารดา
รกลอกก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
การช่วยคลอดท่าก้น
Breech delivery
ภาวะแทรกซ้อนของการคลอดท่าก้น
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อ
ทารกกระดูกหักข้อเคลื่อน
การล้วงรก
Manual removal of placenta
บทบาทของพยาบาลในการดูแลมารดาที่ล้วงรก
-สวนปัสสาวะ
-สังเกตอากรเสียเลือด
-สังเกตการเปลี่ยนแปลงของมารดา
-ไม่พยายามกระตุ้นมดลูก
การพยาบาลมารดาภายหลังการล้วงรก
-บันทึก ชีพจร
-ส่งเสริมให้มดลูกมีการหดรัดตัวดี
-ใส่ผ้าอนามัย
-ดูแลให้ได้รับสารน้ำ ยาปฎิชีวนะ