Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการวินิจฉัยแยกโรคในอายุรกรรม 8.4-8.7 - Coggle Diagram
กลุ่มอาการวินิจฉัยแยกโรคในอายุรกรรม 8.4-8.7
กลุ่มอาการทางผิวหนัง (Skin disease)
โรคผิวหนังจากการติดเชื้อ
เชื้อแบคทีเรีย
(Bactrial)
ฝี (Abscess)
การอักเสบของต่อมไขมันและรูขุมขน
เกิดจาก :เชื้อแบคทีเรีย (Staphylococcus)
อาการแสดง : ตุ่ม ก้อนบวแดง ทปวด กดเจ็บ อาจพบต่อมน้ำเหลืองบวมโต กดเจ็บหรือมีการอักเสบ
การรักษา : ใช้ผ้าชุบน้ำอุ่ยจัดๆ ให้ยาแก้ปวดลดไข้ ให้ยา ATB
แผลพุพอง (Impetigo)
เกิดจาก เชื้อแบคทีเรีย
อาการแสดง : ตุ่มน้ำใส แตกง่าย กลายเป็นสีแดง บางรายมีไข้ต่ำ มีผื่นขึ้นบริเวณตามใบหน้า
โรคที่ติดต่อได้ง่ายและรวดเร็ว
การรักษา ให้ ATB ทาแผลด้วยขี้ผึ้งเตตราไซคลีน
ผิวหนังอักเสบ (Cellulitis)
เกิดจาก Straphylococcus
อาการแสดง : ผิวหนังบวมแดงร้อน ปวด ขอบเขตไม่ชัดเจน ต่อมน้ำเหลืองอาจโต
เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังชั้นลึกอักเสบ
การรักษา : .ให้ ATB ให้ Paracetamol ให้พักผ่อน
ไฟลามทุ่ง (Erysipelas)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรี
ย
อาการแสดง : ไข้สูงหนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดบวมแดงร้อนที่ผิวหนัง**
ถ้าเป้นมากอาจมีตุ่มน้ำพอง**
การอักเสบของผิวหนังชั้นหนังแท้และเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
การรักษา : รักษาเช่นเดียวกับโรคผิวหนังอักเสบ
เชื้อรา (Fungal infection)
กลาก (Tinea)
เกิดจากเชื้อ Dermatophytosis
อาการแสดง ผื่นแดง คัน ตรงกลางผื่นจะมีสีแดงหรือสีปกติเป็นรูปไข่หรือวงกลม ส่วนขอบยกสูงมสีแดงเป็นขุย
โรคเชื้อราบริเวณผิวหนัง ผม เล็บ รูขุมบน
การรักษา : ใช้ครีมรักษาเชื้อราวันละ 2 ครั้ง (Ketoconazole Miconazole)
เกลื้อน (Tinea Versicolor)
เกิดจาก Pityrosporum Orbiculare
อาการแสดง : ผิวหนังดวงป็นขุย**
ปื้น**
การติดเชื้อราที่ผิวหนัง ทำให้สีผิวหนังเปลี่ยนแปลง บางรายอาจมีสีเข้มขึ้น
การรักษา ให้ยา Ketoconazole ที่เป็นชนิดน้ำทา
รักษาอนามัยส่วนบุคคล
เชื้อไวรัส (Viral)
เริม (Herpes Simplex)
PE : Skin Group lesion LN Enlarge
การรักษา : ให้ยาแก้ปวด ใช้ Povidine (Prn) และใช้ Acyclovia
อาการ : ตุ่มใสๆขึ้นเป็นกลุ่ม ผื่นแดงกลายเป็นสีเหลือง
งูสวัด (Herpes Zoster)
PE : Skin : Group arrangement LN enlarged
การรักษา : ถ้าปวดให้ยาแก้ปวด และให้ Acyclovir 800 1x5
4 ชม
อาการ :ปวดแสบร้อนเหมือนถูกไฟ้ไหม้ตามแนวเส้นประสาท เป็นตุ่มน้ำใสๆแตกและยุบเอง
หัด (Measles)
PE : ตรวจพบ Koplik Spot
Skin
: Maculo - Papular
การรักษา : paracetamol Prn CPM 1x3 Pc
อาการ : ไข้ ไอมาก ตาแดง อ่อนเพลีย
หัดเยอรมัน (Rubella)
PE : HEENT : Post-auricular LN Enlarged and Mildtenderness
การรักษา : CPM 1x3 Pc พักผ่อน ดื่มน้ำตาม มากๆ
อาการ : ไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามร่างกาย ต่อมน้ำเหลืองโต กดเจ็บ ผื่นจุดแดงๆ
อีสุกอีใส (Chickenpox)
PE : Skin (Papulo-Vesicular)
การรักษา : CPM 1x3 PC พักผ่อน ดื่มน้ำตามมากๆ ให้ ATB
อาการ :ไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย 2-3 วัน ผื่นขึ้นพร้อมไข้ เริ่มจากไรผมหน้า หน้า ลำตัว และแผ่นหลัง
โรคผิวหนังจากภูมิแพ้
ลมพิษ (Urticaria)
อาการ : คัน ตุ่มเล้กๆนูนแดง ตุ่มขยายกว้างออกเป็นปื้นใหญ่ๆ
การรักษา : ให้ยาระงับการแพ้ CPM Calamine lotion
สาเหตุ : ยา การติดเชื้อ อาหาร เกสร ความร้อน ความเย็น เครื่องสำอา
ง
Contact dermatitis
สาเหตุ : สารที่แพ้ สารที่ระคายเคือง สารที่มีพิษต่อผิวหนัง
อาการ : บวม แดง คัน น้ำเหลืองซึม
การรักษา : หลีกเลี่ยงสารที่แพ้ ให้ยาต้ารการแพ้ ส่งแพทย์ผิวหนัง
กลุ่มอาการไข้ อ่อนเพลีย
ไข้เฉียบพลัน (Acute febrile illness)
สาเหตุ โรคติดเชื้อ โรค SLE โรคมะเร็ง แพ้ยารือสารพิษ:
อาการ :ขึ้นอยู่การติดชนิดของเชื้อต่างๆ
ไข้ที่มีอุณหภูมิร่างกาย >37.8 โดยระยะเวลาไข้ไม่เกิน 7-14 วัน
ไข้เลือดออก
Dengue hemorrhagic fever
Dengue shock syndrome
Dengue Fever
มาลาเรีย (Malaria)
อาการและอาการแสดง :ไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ซึม ชักเหลือง ไตวาย ซีด
การรักษา : Quinine Artesunate
สาเหตุ : เกิดจากการติดเชื้อปรสิต มียุงเป็นพาหะ
โรคสครับไทฟัส (Scrub typhus)
อาการ :ไข้สูง ปวดศีรษะ ตาแดง ต่อมน้ำเหลืองโต ผิวหนังมีอาการคล้ายรอยไหม้เหมือนบุหรี่
การรักษา :ให้ ATB
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อ Rickettsia tsutsugamushi มักพบในผู้ใหญ่ ในกลุ่มเกษตรกร ชาวนา ชาวสวน
โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
อาการ :ไข้เฉียบพลัน ดีซ่าน ไตวายได้
การรักษา :ให้ ATB
สาเหตุ : ชาวนา ว่ายน้ำในหนอง เลี้ยงสุนัข มีหนูชุกชุม
โรคเมลิออยโดซิส (Melioidosis)
อาการ : มีไข้ ปวด ศีรษะ ไอ ไม่อยากอาหาร หายใจหอบเหนื่อย เจ็บหน้าอก ต่อมน้ำเหลืองโต
การรักษา :ให้ ATB รักษาประคับประคอง
สาเหตุ : Burkholderia pseudomallei
อาการอ่อนเพลีย (Fatigue)
อาการแสดง :ขึ้นอยู่กับสรีรวิทยาร่างกาย และโรคทางอายุรกรรม
การรักษา : พักผ่อนให้มากๆ ดื่มน้ำเยอะๆ ออกกำลังกายให้เพิ่มความแข็งแรง
สาเหตุ :อาจเกิดจากภาวะของโรคทางอายุรกรรม การเปลี่ยนยแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกาย
กลุ่มอาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจขาดเลือด (IHD)
อาการสำคัญ : อาการเจ็บหน้าอก (เจ็บแน่น บริเวณหน้าอก อาการเจ้บอก หนักๆเหมือนมีอะไรมาทับๆ ปวดเมื่อยหัวไหล่ จุกบริเวณลิ้นปี่
การวินิจฉัย : EKG MRI Cardiac enzyme
สาเหตุ : เกิดจากไขมันและเนื้อเยื่อสะสมในผนังหลอดเลือด ส่งผลให้ผนังหลอดเลือดหนาตัวขึ้น
การรักษา : Cardiac Makers Support& Care
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (ACS)
STEMI
NSTEMI
อาการสำคัญ : อาการเจ็บหน้าอก อาจร้าวไปที่ คอไหล่ และมักไปที่แขนด้านซ้าย อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
การวินิจฉัย : ประวัติการเจ็บหน้าอกผู้ป่วย EKG Cardiac Enzyme
การรักษา :ควรได้รับยาละลายลิ่มเลือด หรือยาขยายหลอดเลือดหัวใจ
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure)
เฉียบพลัน
การวินิจฉัย : Lung (Crepitation EKG Chest X-Ray)
การรักษา : รักษาภาวะหัวใจขาดเลือด ให้ออกซิเจน ให้ยากลุ่ม NTG
อาการแสดง : เหนื่อย หายใจหอบ นอนราบไม่ได้ หายใจเข้าไม่เต็มปอด อาจมีอาการเจ็บอกร่วม**
ด้วย**
เรื้อรัง
การวินิจฉัย : V/S EKG DTX
การรักษา : รักษาตามสาเหตุ และแยกโรคสาเหตุในการรักษา
อาการแสดง : มีอาการเป็นๆหายๆมานานๆ มักมีอาการหัวใจล้มเหลวทั้งซีกซ้าย
กลุ่มอาการทางโลหิตวิทยา
1. กลุ่มอาการการสร้างเม็ดเลือดแดงน้อย
Vitamin B12 deficiency Megaloblastic anemia
Bone marrow failure / infiltration
Iron deficiency anemia
aplastic anemia acute leukemia
Deficiency
2. การเสียเลือดจากร่างกาย
เสียเลือดเฉียบพลัน = ภาวะฉุกเฉินทางศัลยกรรม
เสียเลือดเรื้อรัง = พยาธิปากขอ GI Bleeding
การแตกทำลายของเม็ดเลือดแดง (Hemolytic anemia)
ภายในเม็ดเลือด
G6PD deficiency
Thalassemia
ภายนอกเม็ดเลือด
Autoimmune hemolytic anemia
:
Iso immune hemolytic anemia