Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาและทารกในระยะที่ 2…
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาและทารกในระยะที่ 2,3และ4ของการคลอด
การเข้ากลุ่มครั้งที่2
-
-
การเตรียมคลอด
-
การเตรียมด้านร่างกาย
-
-
3.ทำความสะอาด
-
-
สำลีก้อนที่ 2 และ3 ฟอกซอกขาหนีบ
ด้านในของต้นขาทั้งสองข้าง โดยฟอกจากขาหนีบ ออกไปให้กว้างประมาณ 2/3ของต้นขา และฟอกลงมาถึงแก้มก้น
-
-
-
-
-
-
การเตรียมด้านจิตใจ
ระยะแฝงหรือระยะปากมดลูกเปิดช้า
-
การแสดงออกพฤติกรรมที่เหมาะสม ทำกิจกรรมลดลง ใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น เหงื่อออก กำมือแน่น กระวนกระวาย
-
-
ระยะที่สามและสี่ของการคลอด
ความกลัวและความวิตกกังวลลดลง สนใจตนเองและสนใจสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้นบางครั้งผู้คลอดจะนึกทบทวนพฤติกรรมตนเองและรู้สึกผิดที่แสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม
-
เครื่องมือ
ชามใส่สำลีก้อนใหญ่สำหรับทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ Tooth forceps/Nontooth forceps
ถ้วยเล็กและสำลีเช็ดตา 2 ก้อน
ก้อน -Needle holder-ไม้พันสำลีใหญ่เพื่อเช็ดสะดือ กรรไกรตัดไหม-ถ้วยใส่สำลีก้อนใหญ่และน้ำยาฆ่าเชื้อเพื่อเช็ดบริเวณฝีเย็บ
ท๊อปก๊อสสำหรับ save perineum-Sponge holding forceps -syring และเข็มเบอร์18,24 สำหรับเต็มยาชาเพื่อเย็บแผล
กรรไกรตัดฝีเย็บ -ไหมเย็บแผล-Arterial clamps 2 ตัว พร้อมยางรัดCord -ลูกสูบยางแดง-กรรไกรตัดCord -ก๊อสซับเลือดและ Tampon
-
-
-
การเข้ากลุ่มครั้งที่4
1.การตัดและซ่อมแซมฝีเย็บ
การตัดฝีเย็บ (episiotomy) คือ การใช้กรรไกรตัดเนื้อเยื่อบริเวณปากช่องคลอดกว้างขึ้นสะดวกแก่การเคลื่อนผ่านของทารก
สาเหตุ ความไม่สมดุลทารกตัวโตเกินไป ฝีเย็บยืดขยายไม่ดี Subpubic archแคบ การคลอดเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ฝีเย็บถูกยืดขยายอย่างรวดเร็ว (ripid delivery)เนื่องจากแรงผลักดันมาก ป้องกันการฉีกขาดของ Perineal body, External anal sphincter และผนังของ rectum ช่วยลดระยะที่ 2 ของการคลอด
ข้อบ่งชี้ในการตัดฝีเย็บ
- ผู้คลอดครรภ์หลังที่เคยได้รับการตัดฝีเย็บมาแล้ว
-
- รายที่คลอดก่อนกำหนดซึ่งตรวจพบว่าทารกตัวโต เพื่อป้องกันศีรษะทารกถูกกดมากเกินไปจนมีเลือดออกในสมอง
- รายที่ต้องใช้สูติศาสตร์หัตการในการช่วยคลอด เช่น การคลอดโดยใช้คีม
การคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
-
ชนิดของการตัดฝีเย็บ
Medio-lateral
เป็นวิธีที่นิยมกันมากการตัดเริ่มจากบริเวณกลาง fourchette ลงไปบริเวณด้านข้างฝีเย็บข้างใดข้างหนึ่งเป็นแนวเฉียงประมาณ 45 องศาหรือห่างจากทวารหนัก 2-3 เซนติเมตร
Median
เป็นที่นิยมแพร่หลายเช่นกันการตัดเริ่มจากแนวกลาง fourchette ลงไปตรง ๆ ตัดประมาณ 2. 5-3 เซนติเมตรของฝีเย็บ
Jshaped
เริ่มจากตรงกลาง fourchette ลงไปตรง ๆ ประมาณ 2 เซนติเมตรแล้วเฉียงออกไปด้านข้างของฝีเย็บเพื่อหลีกเลี่ยงบริเวณทวารหนักวิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบันเพราะเย็บแผลยากแผลที่ซ่อมแซมแล้วมักมีรอยย่น
Lateral
การตัดจะตัดออกไปตามแนวราบของฝีเย็บข้างใดข้างหนึ่งวิธีนี่ไม่เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบันเช่นกันเนื่องจากมีเลือดออกมากและแผลหายช้าอาจตัดเอาท่อของต่อม bartholin ซึ่งมีหน้าที่สำคัญในการขับเมือกเพื่อช่วยหล่อลื่นบริเวณ vestibule ระหว่างที่มีการกระตุ้นทางเพศนอกจากนี้ยังทำให้กล้ามเนื้อชั้นลึกหย่อนและเย็บลำบาก
-
วิธีการตัดฝีเย็บ
หลังจากฉีดยาเฉพาะที่ให้แล้ว ประมาณ 1 นาที หรือมากกว่านี้ ใส่นิ้วชี้และนิ้วกลางเข้าไปอยู่ระหว่างของนิ้วซ้ายศีรษะทารกและฝีเย็บ มือขวาจับกรรไกรแล้วสอดไว้ระหว่างนิ้วมือและฝีเย็บป้องกันกรรไกรตัดถูกส่วนของศีรษะทารก
คาดคะเนแนวของฝีเย็บบริเวณที่จะตัดไว้ โดยให้อยู่ในแนวของฝีเย็บบริเวณที่จะตัดไว้โดยให้อยู่แนวเฉียงออกจากกึ่งกลางของ fourchette (frenulum pudendi) ประมาณ 45 องศา หรือให้ปลายกรรไกรอยู่ห่างจากทารกประมาณ 2.5-3 เซนติเมตร เมื่อมดลูกหดรัดตัวและผู้คลอดเบ่งเต็มที่จึงเริ่มตัดเย็บโดยประมาณ3เซนติเมตรการตัดให้ตัดยาวลงไปครั้งเดียวไม่ควรตัดสั้น ๆ
การซ่อมแซมฝีเย็บ
-
-
-
Continuous lock
วิธีเย็บคล้ายกับแบบ simple suture แต่ใช้ไหมเส้นเดียวกันเย็บตลอดความยาวของแผล เป็นการช่วยให้เลือดหยุด ใช้เย็บเยื่อบุผนังช่องคลอด กล้ามเนื้อของช่องคลอดและฝีเย็บ
-
ภาวะตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage) หมายถึง การเสียเลือดภายหลังทารกคลอด ทางช่องคลอดมากกว่า 500 มิลลิลิตร คลอดปกติ หรือมากกว่า 1,000 มิลลิลิตรกรณีผ่าคลอด อาจเกิด Sheehan’s syndrome
-
-
-
-
-
ปริมาณการสูญเสียเลือด
Top gauze และ Tampon ชุ่มไม่หมดผืน 35 ml
Top gauze และ Tampon ชุ่มทั้งผืน 60 ml
Gauze ชุ่มหมด 10 ml สำลีชุ่ม 15 ml
ผ้าอนามัยชุ่มทั้งผืน 130 ml
(เกณฑ์ ชั่งน้ำหนัก 1 กรัม = 1 ml,ใช้อุปกรณ์ตวง ให้อ่านค่าตามขีดบอกปริมาณเลือด)
-
-
-
-
-