Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับ การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน,…
บทที่ 5 กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับ
การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
การประเมินภาวะสุขภาพอนามัยชุมชน (community assessment)
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลอนามัยชุมชน
( Data collection )
แหล่งข้อมูลในการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งปฐมภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากแหล่งของข้อมูลโดยตรง
การตรวจร่างกาย
การทดสอบ
การสอบถาม
แหล่งทุติยภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีการบันทึกไว้แล้ว
รายงาน จ.ป.ฐ.
แฟ้มครอบครัว
ข้อมูลจากบัตรผู้ป่วย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
4) การทดสอบ
5) การตรวจชนิดต่างๆ
3) การใช้แบบสอบถาม
6) การสังเกตและสัมภาษณ์จากผู้นำหรือผู้รู้ในชุมชน
2) การสัมภาษณ์
7) การทำแผนที่ชุมชน
8) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการเรียนรู้วิถีชุมชน
1) การสังเกต
ชนิดของข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวม
สถานภาพอนามัยของชุมชน ข้อมูลเจ้าหน้าที่สาธารณสุข สิ่งอำนวยความสะดวกด้านอนามัย
ลักษณะทั่วไปของชุมชน ประชากรในชุมชน การติดต่อสื่อสาร การคมนาคม เศรษฐกิจของชุมชน การปกครอง กฎหมาย
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
3) สร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
4) กำหนดขนาดตัวอย่างและเลือกกลุ่มตัวอย่าง
5) การเตรียมตัวในการเก็บข้อมูล
2) ศึกษาวิธีการและแหล่งในการเก็บรวบรวมข้อมูล
1) ศึกษาวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมข้อมูล
6) เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผนที่วางไว้
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
2) การแบ่งหมวดหมู่ของข้อมูล
หมวดอนามัยสิ่งแวดล้อม
หมวดสังคม-วัฒนธรรม
ความเชื่อ
การเลี้ยงดูเด็ก
ประเพณี
หมวดความรู้ เจตคติ
และการปฏิบัติตนเรื่องสุขภาพ
หมวดอนามัยแม่และเด็ก
ฝากครรภ์
วัคซีน
ตั้งครรภ์
น้ำหนักทารกแรกเกิด
สถิติชีพ-สถิติอนามัย
ย้ายเข้า-ออก
การเกิด-การตาย
พิการ-ไร้สมรรถสมรส
สังคมประชากร
สถานภาพสมรส
ประเภทครอบครัว
ฐานะ
โครงสร้างของ ประชากร
อาชีพ
1) การบรรณาธิกรข้อมูล/การตรวจสอบข้อมูล
เพื่อความถูกต้องของข้อมูลก่อนการดำเนินขั้นต่อไป
3) การแจงนับข้อมูล (Tally)
แจกแจงความถี่
ผลรวมของข้อมูลตามหมวดหมู่
4) การคำนวณทางสถิติ
เพื่อข้อมูลมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น นำไปสู่การแปลความหมายของข้อมูลที่ถูกต้อง
การนำเสนอข้อมูล
แบบตาราง
แผนภูมิ
แบบบทความกึ่งตาราง
กราฟ
แบบบทความ
การแปลผลข้อมูล
การสรุปผลข้อมูล
การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (Problem Identification)
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
ปัญหาอนามัยชุมชนที่ต้องได้รับการแก้ไข: ลด ละ เลิก
ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของคนในชุมชน
สภาวะ/ความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาภายหลัง
2.2 ขั้นตอนการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
1.กำหนดดัชนีที่จะใช้ประเมินปัญหาอนามัยชุมชน
การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ความร่วมมือของชุมชน
ความรุนแรงของปัญหา
ความเสียหายในอนาคต
ขนาดของปัญหา
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
การวินิจฉัยสาเหตุและแนวทางในการแก้ปัญหา
โยงใยสาเหตุของปัญหา (Web of Causation)
การสร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมอนามัย
การวางแผนเพื่อแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน (community planning)
การวางแผน
ความสำคัญของการวางแผน
ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรมสอดคล้อง ต่อเนื่อง
เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
ป้องกันความเสี่ยงและสิ่งที่ไม่พึงประสงค์
เป็นงานที่จำเป็น
ประเภทของแผน
แผนระยะกลาง 2–5 ปี
แผนระยะสั้น น้อยกว่า 1 ปี
แผนระยะยาว มากกว่า 5 ปีขึ้นไป
เขียนโครงการเพื่อดำเนินกิจกรรมตามที่กำหนด
เป้าหมายดำเนินงาน/ตัวชี้วัด
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
วัตถุประสงค์
สถานที่ดำเนินงาน:
หลักการและเหตุผล
วิธีดำเนินการ:
ผู้รับผิดชอบโครงการ
งบประมาณ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ชื่อโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
การปฏิบัติตามแผนงานอนามัยชุมชน (community implementation)
ขั้นดำเนินการ
ติดตาม นิเทศ ควบคุมงาน บันทึกเป็นระยะๆ
แก้ไขปัญหาสุขภาพตามที่กำหนดและปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับชุมชน
พิจารณากิจกรรมเขียนเป็น Gantt's Chart
ขั้นเตรียมการ
การเตรียมตัวพยาบาลอนามัยชุมชน
การเตรียมผู้รับบริการ ผู้รับบริการ/กลุ่มเป้าหมาย
การเตรียมทรัพยากร/อุปกรณ์
การประเมินผลการดำเนินงานอนามัยชุมชน (community evaluation)
1.การประเมินผล
มี 3 ลักษณะ
การประเมินผลในระหว่างการปฏิบัติงาน
การประเมินผลหลังการปฏิบัติงาน
การประเมินผลก่อนการปฏิบัติงาน
2.ชนิดของการประเมินผล
ประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency)
ประเมินประสิทธิผล (Effectiveness)
ประเมินความก้าวหน้า (Progress)
ประเมินผลกระทบ (Impact)
ประเมินความเหมาะสม (Adequacy)
ขั้นตอนการประเมินโครงการ
การกำหนดกลุ่มเป้าหมายและ
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
สร้างเครื่องมือในการประเมิน
การวิเคราะห์
กำหนดรูปแบบและวิธีการประเมิน
จัดทำรายงานและนำเสนอผลการประเมิน
กำหนดจุดมุ่งหมายหรือ
วัตถุประสงค์ของการประเมิน
นางสาว สุธิดา แซ่โซ้ง เลขที่ 38 รหัสนักศึกษา 603901039