Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกเเรกเกิด การประเมินสภาพเเละการพยาบาล - Coggle Diagram
ทารกเเรกเกิด การประเมินสภาพเเละการพยาบาล
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทารกเเรกเกิด
:check:
วัคซีนBCG
:red_flag:
เชื้อวัณโรคพันธุ์ Microbacterium bovisยังมีชีวิตเเต่หมดฤทธิ์เเล้ว
ฉีดเข้าผิวหนังชั้นID ครั้งละ 0.1ml หลังฉีดจะมีตุ่มเเดงในสัปดาห์ที่2-3 กลายเป็นฝีเม็ดเล็กๆเเละมีหัวหนอง ไม่ให้บ่งหัวหนองจนกว่าเเผลจะเเห้งเเละใช้สำลีชุบน้ำสะอาดเช็ดบริเวณแผล
ข้อห้ามใช้
1.คนที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องเเละได้รับยากดภูมิคุ้มกัน
2.หญิงตั้งครรภ์
3.คนที่เจ็บป่วยเฉียบพลัน
4.มีปผลติดเชื้อหรือเเผลไฟไหม้บริเวณที่ฉีด
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี :red_flag:
เด็กเเรกเกิดทุกคนต้องฉีด ให้เร็วที่สุดใน24ชม หลังคลอด ครั้งที่2อายุ 1-2เดือน ครั้งที่3 อายุ 6-7เดือน
มารดาเป็นพาหะ
ทารกควรได้วัคซีนเร็วที่สุดร่วมกับHBIG 0.5mlภายใน12ชมเเรก ฉีดที่ขาคนละข้าง
เด็กเเรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2000กรัม
เเม่เป็นพาหะ
หรือไม่ทราบผลเลือดควรได้วัคซีนทันทีหลังหลอด12ชม. เเละเริ่มฉีดเข็มเเรกเมื่อสุขภาพเเข็งเเรงดีเเละมีอายุ 1 เดือาน
เด็กไม่เคยรับวัคซีนมาก่อนหรือผู้ใหญ่ที่เสี่ยงสัมผัสโรค ให้ฉีด3ครั้งโดยครั้งที่2ห่างจากครั้งเเรก4สัปดาห์เเละครั้งที่3ห่างจากครั้งที่2อย่างน้อย8สัปดาห์
เด็กpretermน้ำหนักน้อยกว่า2000กรัม ที่มารดา
ไม่เป็นพาหะ
ให้เข็มเเรกเมื่อเด็กสุขภาพเเข็งเเรงเเละ1เดือนขึ้นไป
หลังฉีดจะมีปวด บวม เเดงบริเวณที่ฉีดเเละมีไข้ต่ำๆ อาการมักเริ่ม 3-4ชม หลังฉีด ให้ยาลดไข้ในเด็กที่ร้องกวนมาก
ประเมินเเละดูเเลทารกเเรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กๆน้อยๆ
:warning:
ภาวะขี้เทาอุดตันลำไส้ :
:warning:
ปัจจัยเสี่ยง
มีความสัมพันธ์กับโรคHirschprung's Desease, Hypothyroidism, Diabetes, Gestational Diabetes
อาการ
มีอาการท้องอืด โป่งพองขึ้น อาเจียนมีน้ำดีปนเเละไม่ถ่ายขี้เทาใน24-48ชม ไม่ค่อยดูดนม
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายพบว่าท้องนุ่มโป่ง อาจคลำได้ลอนลำไส้ที่ใหญ่ขึ้น : :
การดูเเลรักษา
สวนด้วยสารละลายประเภทน้ำช่วยให้ส่วนที่เเข็งนุ่มลงเเละระบายออกได้ เหน็บด้วยกลีเซอรีน
ภาวะที่ทางเดินอาหารเเละลำไส้ของทารกเเรกเกิดครบกำหนดมีการอุดกั้นจากขี้เทาซึ่งหนาตัวเเข็งขึ้นเเละไม่สามารถขับถ่ายออกมาได้
ภาวะพร่องเเลคเตส
:warning:
อาการ
อาการผิดปกติของลำไส้หลังบริโภคนมไปประมาณ30นาทีถึง2ชม อาการจะมากน้อยขึ้นกับปริมาณเเลคโตสที่บริโภคเเละความรุนเเรงของภาวะพร่องเเลคเตส มักมีอาการ ท้องอืด คลื่นไส้ ปวดบิดในท้อง
สิ่งตรวจพบ
อุจจาระมีสภาพเป็นกรด การวินิจฉัยคือ การวัดค่าก๊าซไฮโดรเจนที่มากขึ้นในลมหายใจ
สาเหตุ
ผู้ที่ขาดเอนไซม์เเลคเตสตั้งเเต่เกิดกลุ่มนี้พบน้อย ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติที่ยีนจากบิดาเเละมารดาทั้งสองฝ่าย
การรักษาเเละการพยาบาล
รายที่ต้องงดนมโดยเด็ดขาดให้บริโภคโปรตีน เเคลเซียมจากเเหล่งอื่นๆ
รายที่ต้องบริโภคนมต่อไปให้กินเอนไซม์เเลคเตสควบคู่ไปด้วย
เพิ่มเอนไซม์เเลคเตสโยการรับประทานโยเกิร์ตที่ใส่เเบคทีเรียลงไป
ส่งเสริมให้ได้รับวิตามินดีอย่างเพียงพอจากน้ำมันตับปลา เนื้อปลา
ภาวะพร่องเอนไซม์เเลคเตสจะมีปัญหาเมื่อกินนม เนื่องจากนมมีส่วนประกอบสำคัญคือ น้ำตาลเเลคโตส การขาดหรือพร่องเอนไซม์เเลคเตสจะทำให้เกิดอาการท้องเสีย
ภาวะลิ้นติด
:warning:
การวินิจฉัย
เครื่องมือตรวจประสิทธิภาพการดูดนมมารดาที่สัมพันธ์กับพังผืดใต้ลิ้น Siriraj Tongue Tie Score(STT Score)
อาการเเสดง
เเลบลิ้นไม่พ้นริมฝีปากหรือเหงือกบน ไม่สามารถกระดกปลายลิ้นขึ้นไปสัมผัสเพดานได้
ผลกระทบ
เกิดปัญหาในการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา เช่น ดูดนมไม่ได้ดี อมหัวนมเเล้วมักหลุด
การรักษา
รักษาโดยการผ่าตัด(Frenotomy) ก่อนทำอาจส่องไฟจากด้านหลังตรวจดูFrenulumว่าโปร่งเเสง เเละไม่มีเส้นเลือด
ภาวะที่เกิดขึ้นเนื่องจากการยึดของพังผืดใต้ลิ้นที่มีมากกว่าปกติ ทำให้เกิดปัญหาการขยับปลายลิ้นหรือการเคลื่อนไหวของลิ้นไม่ดีเท่าที่ควร
ท้องผูกในเด็ก
:warning:
สาเหตุ
อาจเป็นผลจากการเจ็บป่วยของระบบใดระบบหนึ่งหรือเป็นผลจากการมีโรคหรือความผิดปกติของลำไส้
อาการ
ความอยากอาหารลดลง เเละมีอาการถ่ายลำบากอาจพบว่ามีเลือดติดมากับด้านนอกของก้อนอุจจาระ
ขับถ่ายอุจจาระยากกว่าปกติ อุจจาระมีลักษณะเเข็งหรือมีพฤติกรรมกลั้นอุจจาระ
การพยาบาล
ปรับเปลี่ยนเรื่องอาหารให้มีกากใยเพิ่มขึ้น
รับประทานผลไม้เเละเพิ่มอาหารที่มีกากใย
เเนะนำให้ดื่มน้ำมากๆให้น้ำเเก่ทารกอย่างเพียงพอ
พยายามฝึกนิสัยการขับถ่ายเป็นประจำสม่ำเสมอ
เท้าปุก
:warning:
อาการเเละอาการเเสดง
Cavus of the Midfootเท้างุ้มงอ ฝ่าเท้าโก่งเป็นมุม
Adductus of the Forefoot ส่วนปลายเท้าหันเข้าด้านใน
Varus of the Hindfoot ส้นเท้าหันเข้าด้านใน
Equinus of the Hindfoot เท้าทั้งหมดชี้ลงด้านล่าง
สาเหตุ
ไม่ทราบเเน่ชัดเเต่มีปัจจัยที่คิดว่าเกี่ยวข้องคือพันธุกรรมเเละความผิดปกติในช่วงพัฒนาการระหว่างอยู่ในครรภ์มารดา
เป็นความผิดปกติของเท้าในทารกเเรกเกิด ที่รุนเเรงมากเรียกTalipes Equinovarus มีความสัมพันธ์กับพันธุกรรมเเละโรคSpina Bifida
การรักษา
Ponsetiรักษาได้ผลดีการกลับมาเป็นซ้ำน้อย ใส่เฝือกปลายเท้าถึงขาหนีบเพื่อให้เท้าคงที่ทุกสัปดาห์ร่วมกับการผ่าตัดเอ็นร้อยหวายผ่านทางผิวหนัง (Percutaneous Tenotomy) เเละการรักษาด้วยการนวดเท้าเเละดัดเท้า(French method)
การพยาบาล
คัดกรองเด็กเเรกเกิดทุกรายสร้างความมั่นใจในการรักษาเเละสอนวิธีการดูเเลเฝือกเมื่อกลับบ้าน
ประเมินเเละดูเเลทารกเเรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กๆน้อยๆ
:warning:
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกเเรกเกิด (Subtemperature) :warning:
ทารกมีภาวะอุณหภูมิต่ำซึ่งจะทำให้ร่างกายทารกมีเมตาบอลิสซึมสูงขึ้นเพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้เหมาะสมทำให้ทารกต้องงใช้กลูโคสเเละออกซิเจนเพิ่มมากขึ้น
ทำให้ทารกเสี่ยงต่อการมีน้ำตาลต่ำเเละมีออกซิเจนต่ำได้
การพยาบาล
สวมเสื้อผ้าให้ทารกให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สวมหมวกป้องกันความเย็นเนื่องจากศีรษะเป็นส่วนที่มีพื้นที่มากที่สุด
หมั่นสังเกตอาการเปียกชื้นจากการขับถ่ายเเละปัสสาวะ หากเปียกชื้นให้เช็ดทำความสะอาดด้วยน้ำอุ่นซับให้เเห้งอย่างรวดเร็ว
จัดสิ่งเเวดล้อมไม่ให้ทารกอยู่ในอุณหภูมิที่ต่ำเกินไป
น้ำตาไหล/ภาวะท่อน้ำตาอุดตัน :warning:
ทำให้มีการติดเชื้อหรือเป็นถุงน้ำภายใน ทารกจะมีน้ำตาไหลมาก มีขี้ตาสีเหลือง ส่วนมากเป็นข้างเดียวมีอาการบวมบริเวณท่อน้ำตาได้
สาเหตุ
เกิดจากการที่ท่อน้ำตามีการอุดกั้นไม่ว่าจะเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด
การพยาบาล
ถ้ามีการติดเชื้อที่ตาด้วยจะต้องทำความสะอาดบริเวณรอบดวงตาให้สะอาดโดยการล้างมือก่อน เช็ดตาจากหัวตาไปหางตา
ประคบด้วยน้ำอุ่นเเละค่อยๆนวดท่อน้ำตามด้วยปลายนิ้ว
ภาวะตัวเหลืองดีซ่าน (Jaundice) :warning:
ทารกที่มีความเสี่ยงอื่นๆ เช่น คลอดก่อนกำหนด มีอาการเหลืองเร็วภายในไม่เกิน24ชมเเรกหลังคลอด ทารกที่ยังดูดนมมารดาได้ไม่ดี
ดูเเลให้เด็กได้รับการส่องไฟ หมั่นพลิกตะเเคงตัวเด็กทุก2ชม เพื่อให้ได้รับการส่องไฟอย่างทั่วถึง รักษาอุณหภูมิทารกให้อบอุ่นตลอด
เป็นภาวะที่เกิดขึ้นได้ในทารกทุกคนเนื่องจากอายุของเม็ดเลือดเเดงของทารกจะสั้นกว่าของผู้ใหญ่ทำให้มีการเเตกของเม็ดเลือดเเดงเเละมีการขับถ่ายบิลิรูบิน
ปัญหาการกลืน :warning:
อาการ
ทารกไม่ตื่นมาดูดนมภายในเวลาที่กำหนด ดูดนมน้อยกว่า8ครั้งใน24ชม หัวนมมารดาหลุดออกจากปากบ่อยๆ ไม่ยอมรับหัวนม
ชั่งน้ำหนักดูการเคลื่อนไหวของลำไส้ ประเมินการลดลงของน้ำหนัก เเนะนำท่านั่งที่เหมาะสมเเละสุขสบายระหว่างให้นมบุตร
ฟันขึ้นเร็ว (Natal teeth) :warning:
ฟันที่ขึ้นตั้งเเจ่เเรกคลอดหรือฟันที่ขึ้นภายในเดือนเเรกหลังคลอด
ถ้าปล่อยทิ้งไว้ทารกจะเอาฟันงับหัวนมมารดาทำให้หัวนมเป็นเเผล
ควรให้ทันตเเพทย์ประเมินว่าเป็นฟันชนิดใด ตำเเหน่งใด ตรวจดูความเเน่นของฟันถ้าเป็นฟันที่เกินมาควรถอนออกเพราะอาจหลุดไปอุดกั้นทางเดินหายใจได้
อัณฑะไม่ลงถุง :warning:
ภาวะที่ทารกเพศชายมีอัณฑะไม่เคลื่อนลงมาที่ถุงอัณฑะตามปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเป็นวิธีการรักษาที่เเนะนำ