Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลูคาว zi - Coggle Diagram
พลูคาว
-
การศึกษาทางพิษวิทยา
- เมื่อทดสอบความเป็นทดลองกับหนูทดลองพบว่าสัตว์ทดลองตายครึ่งหนึ่ง
- สารสกัดพลูคาวส่วนที่ลอยบนน้ำ ใน micrology มีฤทธิ์ก่อการกลายพันธุ์อ่อนๆ ใน Salmonella typhimurium TA98 และ TA100
- ในการต้านการเกิดมะเร็ง มีฤทธิ์อ่อนในการยับยั้ง a-TNF ในเซลล์ Macrophages cell line raw 264.7
- พิษต่อเซลล์ พบว่าเป็นพิษอย่างอ่อนและแสดงฤทธิ์ไม่แน่นอนต่อเซลล์
- หลักฐานทางวิทยาศาสตร์พบว่าพลูคาวมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย แต่ฤทธิ์การต้านอักเสบและมะเร็งขึ้นอยู่กับสารสกัดจึงต้องมีการศึกษาเพิ่มเติม
-
คำแนะนำการใช้
2.หากนำมาใช้เป็นยารักษาภายนอกมากเกินขนาดอาจทำให้เกิด
อาการแพ้ที่ผิวหนังโดยมีอาการเกิดผื่นคันหรือแผลพุพองได้
3.ห้ามใช้พลูคาวในผู้ที่มีอาการเหล่านี้ด้วย เช่น หนาวง่าย (กลัวหนาว) แขนขาเย็น ปวดท้อง ท้องร่วง ปัสสาวะใสและปัสสาวะมากขึ้น มีฝ้าขาวบนลิ้น (ทางการแพทย์จีนเรียกว่า อาการพร่อง)
1.การรับประทานพลูคาวมากจนเกินไปอาจทำให้เกิดผลข้างเคียง คือ อาเจียน หายใจสั้นและถี่ และอาจเป็นอันตรายได้
-
-
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
- ฤทธิ์ระงับปวด เร่งการเจริญเติบโตของเซลล์ ห้ามเลือด รักษาปริมาณของเหลวในร่างกาย
- ฤทธิ์ขับปัสสาวะ พบสารฟลาโวนอยด์ที่แยกได้จากพลูคาวเป็นสาระสำคัญในการออกฤทธิ์
- ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ น้ำมันหอมระเหยจากการกลั่นส่วนเหนือดินของพลูคาว พบว่ามีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียอย่างแรง
- ฤทธิ์ต้านไวรัส น้ำมันหอมระเหยจากพลูคาว ซึ่งประกอบด้วย
n-decyl aldehyde, n-dodecyl aldehyde, methyl-n-nonyl ketone
สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของไวรัสที่เป็นสาเหตุของไข้หวัดใหญ่
ลักษณะทั่วไปของพลูคาว
-
-
ชื่ออื่น คาวตอง, คาวทอง, ผักก้านตอง, ผักคาวปลา, พลูแก
-
-
-
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ พบมากแถบภาคเหนือของไทย บริเวณบริเวณริมห้วย ลำธาร หรือตามต้นไม้ใหญ่ที่มีความชื้นสูง
-
-