Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
หัด (Measles or Rubeola)
เชื้อ Morbillivirus
ระยะ
ระยะก่อนผื่นขึ้น3-5วัน มีไข้สูง น้ำมูกไหล ไอ พบตุ่มเล็กๆสีขาวกระจายบริเวณเยื่อบุกระพุ้งแก้ม เรียกว่า Koplik's spot
ระยะผื่นขึ้น 4-5วันอาการรุนแรงสุด ไข้สูงมาก ตาแดงจัด น้ำตาไหล กลัวแสง
ระยะฟื้นตัว 1-2วัน ผื่นจะกลายเป็นสีเข้ม
การรักษา
วัคซีนหัดร่วมกับหัดเยอรมันและคางทูม MMR viccine
ฉีดซ้ำเมื่ออายุ4-6ปี
หัดเยอรมัน (Rubella or German Measles)
เชื้อ Rubella virus
อาการ
จะไม่มีไข้ มีผื่นทั้งตัว ปวดเมื่อยตามตัว ต่อมน้ำเหลืองที่บริเวรหลังหู ท้ายทอยและคอโต
ภาวะแทรกซ้อน
สมองอักเสบ
ปอดบวมจากไวรัส
เลือดออดง่ายในรายที่มีเกล็ดเลือดต่ำ
การตรวจ
การตรวจ ELSA
อีสุกอิใส (Chicken Pox or Varicella)
เชื้อ Varicella Virus
ระยะติดต่อ
1วันก่อนผื่นขึ้้น
7วันหลังผื่นขึ้น จนกว่าผื่นตกสะเก้ดหมด
อาการ
มีไข้ ผื่นแดงตามตัว
ภาวะแทรกซ้อน
ตุ่มน้ำเหลือง เกิดจากStreptococcus และ Straphylococcus
ติดเชื้อในกระแสเลือด Sepsis
การตรวจ
ตรวจร่างกาย
การรักษา
แบบประคับประคองตามอาการ
คางทูม (Mumps)
เชื้อ Mump virus
อาการและอาการแสดง
ต่อมน้ำลายอักเสบ Parotitis
ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การรักษา
แบบประคับประคองตามอาการ
โรคบาดทะยัก (Tetanus)
เชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani
การติดต่อ
เข้าทางบาดแผล
ระยะฟักตัว
มีบาดแผล ฟักตัวประมาณ3-14วัน
อาการ
เริ่มจากกล้ามเนื้อค่อยๆเกร็ง
เกร็งบริเวณต้นคอและหลัง
กลืนลำบาก
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดบวม
ปอดแฟบ
การอุดกั้นทางเดินหายใจ
กระดุกสันหลังหัก
การรักษา
รักษาแบบประคับประคอง
Tetanus antitoxin และ TIG
การป้องกัน
ให้วัคซีน DTP
ไข้เลือดออก (Dengue Fever)
อาการสำคัญ
ไข้สูง
เลือดออกตามร่างกาย
อาเจียน ถ่ายดำ
การรั่วของพลาสม่า
การดำเนินการของโรค
ระยะไข้ (Febrile stage) ไข้สูง 38.5 องศามีไข้สูงประมาณ2-7วัน
ระยะวิกฤต ช็อก (Shock or Hemorrhage stage)
มือเท้าเย็น
ชีพจรเบาเร็ว
Pulse pressure แคบน้อยกว่า 20 mmhg
ปัสสาวะออกน้อย ถ่ายอุจจาระดำ
ความรุนแรง
เกรด1 ไม่ช็อก มี tourniquet test positive
เกรด2ไม่ช็อก แต่มีเลือดออก ค่า Hct เพิ่มขึ้น
เกรด3 มีอาการช็อก ชีพจรเบาเร็ว
เกรด4 มีอาการช็อกอย่างรุนแรง จับชีพจรไม่ได้
การรักษา
ระยะไข้
ให้ยาลดไข้
ห้ามให้ยาแอสไพริน
กระตุ้นให้สารน้ำทางปาก
ไม่ควรให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ระยะวิกฤต
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ชนิด Isotonic solution
ให้เลือดทดแทน
ระยะฟื้นตัว
หยุดให้สารน้ำ
การพยาบาล
เช็ดตัวลดไข้
กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
วัณโรค (Tuberculosis)
เชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
อาการ
สัมผัส ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ
ระยะแฝง ทดสอบTuberculin test ผลบวก x-ray พบความผิดปกติ
ระยะเป็นโรค ร้อยละ50อาการที่พบครั้งแรกส่วนใหญ่เกิดจากวัรโรคปอด
การวินิฉัย
การแยกเพาะเชื้อ M.toberculosis
การตรวจTuberculin test
X-ray
การย้อมสีทนกรด (Acid Fast Bacilli : AFB)
การรักษา
ให้ยาต้านไวรัส
Isoniazid Rifampin Pyrazinzmide Ethambutol
streptomycin
คอตีบ (Diphtheria)
เชื้อแบคทีเรีย Corynebacterium diphtheriae
การติดต่อ
ไอ
จาม
อาการ
มีอาการหวัด ไอ
พบแผ่น (patch)ที่เยื่อบุในคอ
พิษไปตามกระแสเลือด
เจ็บคอ
ปวดศีรษะ
หายใจลำบาก
การอักเสบของต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ คอบวม bullneck
ภาวะแทรกซ้อน
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
รักษา
ให้ยาปฎิชีวนะร่วมกับแอนตี้ท็อกซิน
ประคับประคองตามอาการ
การป้องกัน
คอตีบ
ปวดศีรษะ
บาดทะยัก
การพยาบาล
สังเกตอาการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้ออกซิเจนความชื้นสูง
ให้ผุ้ป่วยอยู่ห้องแยก
โรคไอกรน(Pertussis or Whooping Cough)
เชื้อแบคทีเรียBordetella pertussis
การติดต่อ
น้ำมูก
น้ำลาย
อาการ
มีอาการไอรุนแรง
มีเสียงWhoopตอนหายใจ
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดบวม
ปอดแฟบ
ชัก
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
เลือดออกใต้เยื่อบุตา
การรักษา
ให้ยาปฎิชีวนะนาน14วัน
รักษาแบบประคับประคอง
ควรเลี่ยงการไอ การดูดเสมหะ ให้ออกซิเจน
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
การป้องกัน
ให้วัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการดูดเสมหะ
ไม่ทำให้เด็กตกใจ
ระวังการสำลัก
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
เอดส์ (AIDS)
เชื้อแบคทีเรียHuman Immunodeficiency Virus (HIV)
อาการ
น้ำหนักลด
เลี้ยงไม่โต
ท้องเสียเรื้อรัง
การรักษา
ให้ยาต้านไวรัส
การรักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
การพยาบาล
เม็ดเลือดขาวต่ำกว่า500เซลล์จัดให้อยู่ห้องแยก
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปยังบุคคลอื่น
ดูแลตามอาการ