Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Report of Syndrome of Inappropriate Antidiuretic Hormone Induced by…
Case Report of Syndrome of Inappropriate Antidiuretic Hormone Induced by Pregabalin
โรคที่ร่างกายสูญเสียความสมดุลของน้ำ ซึ่งเกิดขึ้นได้น้อยในคนทั่วไป โดยมีผลมาจากความผิดปกติของฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก (Antidiuretic Hormone) ซึ่งก่อให้เกิดอาการกระหายน้ำอย่างรุนแรงแม้จะดื่มน้ำเข้าไปแล้วก็ตาม ส่งผลให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากผิดปกติ และปัสสาวะออกมามากกว่าที่ควรจะเป็น ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงอาจถึงขั้นปัสสาวะมากถึงวันละ 20 ลิตรได้
ชายอายุ 69 ปี มาด้วยความอ่อนเพลียและไข้ทั่วไป เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอก (CT) พบการรวมตัวของของเหลวทั้งสองข้างของปอดและเขาได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคปอดบวม ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาหลายชนิดรวมถึงสารยับยั้งเอนไซม์ angiotensin-converting, metformin, สารยับยั้ง DPP-IV และ thioctacid สำหรับการจัดการโรคเบาหวานประเภทที่ 2 และความดันโลหิตสูง หลายสัปดาห์ก่อนเขามีแผลที่ส้นเท้าขวาของเขาซึ่งเกิดจากภาวะหลอดเลือดตีบตัน ไม่นานเขาเริ่มการรักษาด้วย pregabalin เพื่อบรรเทาอาการปวดที่ส้นเท้าด้านขวา
อาการและอาการแสดง
กระหายน้ำบ่อยผิดปกติ ผู้ป่วยจะกระหายน้ำ และรู้สึกเหมือนกระหายน้ำตลอดเวลาแม้ว่าจะดื่มน้ำเข้าไปในปริมาณที่มากแล้วก็ตาม
อาการที่สังเกตเห็นได้ ได้แก่
ร้องไห้ผิดปกติ
หงุดหงิดง่าย
มีอัตราการเติบโตช้ากว่าที่ควรจะเป็น
ร่างกายมีอุณหภูมิสูง
น้ำหนักลดผิดปกติ
ชายอายุ 69 ปี มาด้วยความอ่อนเพลียและไข้ทั่วไป เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอก (CT) พบการรวมตัวของของเหลวทั้งสองข้างของปอด
สาเหตุ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
โรคบางชนิดที่ส่งผลให้สมองบวม
การผ่าตัด
เนื้องอกที่สมองส่วนไฮโปทาลามัส หรือต่อมใต้สมอง
การสูญเสียเลือดที่ไปหล่อเลี้ยงต่อมใต้สมอง
ความผิดปกติทางพันธุกรรมซึ่งเกิดขึ้นได้น้อย
ผู้ป่วยโรคปอดบวม ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาหลายชนิดรวมถึงสารยับยั้งเอนไซม์ angiotensin-converting, metformin, สารยับยั้ง DPP-IV และ thioctacid สำหรับการจัดการโรคเบาหวานประเภทที่ 2 และความดันโลหิตสูง
• ความดันโลหิตของผู้ป่วยคือ 128/58 mmHg และอัตราการเต้นของชีพจร 76 ครั้งต่อนาที อุณหภูมิร่างกายของเขาคือ 37.8 ℃
ทางเดินปัสสาวะอุดตัน
การใช้ยา เช่น ลิเทียม (lithium) เตตร้าไซคลิน หรือยาต้านไวรัสบางชนิด
ระดับแคลเซียมในร่างกายสูงมากเกินไป
โพแทสเซียมในร่างกายอยู่ในระดับต่ำ
โรคไตเรื้อรัง
การวินิจฉัย
การตรวจปัสสาวะ แพทย์จะนำเอาตัวอย่างปัสสาวะไปตรวจเพื่อความเข้มข้นของปัสสาวะ ซึ่งหากผู้ป่วยเป็นโรคเบาจืด ปัสสาวะจะประกอบไปด้วยน้ำมากกว่าของเสีย
การตรวจด้วยการงดน้ำ แพทย์จะตรวจโดยให้ผู้ป่วยงดดื่มน้ำหรือของเหลวอื่นหลายชั่วโมง เพื่อดูระดับของการตอบสนองของร่างกาย โดยระหว่างการตรวจ แพทย์จะวัดปริมาณปัสสาวะของผู้ป่วย และอาจเจาะเลือดเพื่อตรวจวัดระดับฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก (Antidiuretic Hormone: ADH) นอกจากนี้ แพทย์ยังอาจนำตัวอย่างเลือดและปัสสาวะที่ได้ไปตรวจหาปริมาณน้ำตาลและเกลือแร่ต่าง ๆ ซึ่งหากผู้ป่วยเป็นโรคเบาจืด ปริมาณปัสสาวะจะมาก ปัสสาวะจะเจือจาง แต่ถ้าหากภายในเลือดและปัสสาวะมีน้ำตาลสูงผู้ป่วยก็มีความเป็นไปได้สูงว่าจะป่วยด้วยโรคเบาหวานมากกว่าโรคเบาจืด
การทดสอบด้วยฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก (Vasopressin Test) หลังจากตรวจด้วยการงดน้ำแล้ว แพทย์อาจให้ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกในปริมาณเล็กน้อย โดยมักฉีดเข้าทางหลอดเลือด ซึ่งวิธีนี้ทำให้แพทย์เห็นการตอบสนองที่ร่างกายมีต่อฮอร์โมนชนิดนี้ ซึ่งจะช่วยให้แพทย์ระบุชนิดของโรคเบาจืดได้ดียิ่งขึ้น
การตรวจด้วยวิธีการสแกนเอ็มอาร์ไอ (MRI Scan) เป็นวิธีการตรวจวินิจฉัยในกรณีที่แพทย์สันนิษฐานว่าผู้ป่วยอาจเป็นโรคเบาจืดชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของสมอง แพทย์จะเห็นความผิดปกติของสมองส่วนไฮโปทาลามัส หรือต่อมใต้สมองได้
ผู้ป่วยพบว่ามีภาวะ hyponatremic โดยมีระดับโซเดียม 122 mEq / L ระดับโซเดียมในเลือดของเขาลดลงอีกถึง 118 mEq / L การถ่ายภาพรังสีทรวงอกพบว่าการปรับปรุงของโรคปอดบวม การศึกษาต่อมไร้ท่อเพิ่มเติมที่ประเมินภาวะ hyponatremia ไม่รวมภาวะพร่องและไม่เพียงพอต่อมหมวกไต การศึกษาในห้องปฏิบัติการพบว่า osmolality ในซีรั่มลดลง (249 mOsm / kg) นอกจากนี้ระดับโซเดียมในปัสสาวะแบบสุ่มของผู้ป่วยและระดับ osmolality อยู่ที่ 91 mEq / L (ช่วงอ้างอิง 40-220 mEq / L) และ 451 mOsm / kg (ช่วงอ้างอิง 300-900 mOsm / kg)
การรักษา
วิธีการรักษาจะขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการเบาจืด โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดปริมาณปัสสาวะที่ผู้ป่วยปัสสาวะในแต่ละวัน ทั้งนี้ผู้ป่วยจะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างภาวะขาดน้ำ วิธีฏิบัติคือ พกน้ำดื่มติดตัวอยู่เสมอ และหมั่นจิบน้ำบ่อย ๆ ในปริมาณที่แพทย์กำหนดเพื่อควบคุมปริมาณปัสสาวะ และไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ
การรักษาด้วยยา ผู้ป่วยยังคงไม่มีอาการแม้ว่าระดับโซเดียมของเขาจะลดลงเป็น 116 mEq / L การค้นพบทางชีวเคมีของเขาดีขึ้นหลังจากหยุดการบำบัด pregabalin โดยไม่มีผลข้างเคียงใด
การพยาบาล
เนื่องจากความผิดปกติที่เกิดขึ้นจากฮอร์โมนภายในร่างกาย จึงไม่สามารถป้องกันได้ร้อยเปอร์เซนต์ แต่ก็สามารถลดความเสี่ยงโรคได้ ด้วยการป้องกันสาเหตุที่อาจส่งผลให้สมองทำงานผิดปกติและกระทบต่อการผลิตฮอร์โมนที่เกี่ยวข้อง เช่น การหลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ และหลีกเลี่ยงการใช้ยาโดยไม่จำเป็น หรือรับประทานยาโดยไม่ได้ปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ นอกจากนี้หากพบว่ามีอาการผิดปกติต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับศีรษะและสมอง หรือมีอาการอื่น ๆ เช่น ปัสสาวะบ่อยและมากผิดปกติ หรือกระหายน้ำตลอดเวลาก็ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจอย่างละเอียด หากพบว่ามีอาการที่อาจส่งผลให้เกิดโรคเบาจืดจะได้รักษาได้อย่างทันที
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะขาดน้ำ เป็นอาการที่มักพบได้ในผู้ป่วยเบาจืด
หน้ามืด วิงเวียนศีรษะ
ปวดศีรษะ
ปากและริมฝีปากแห้ง
ตาลึกโบ๋
มีอาการมึนงง และหงุดหงิดง่าย
ภาวะเกลือแร่ในร่างกายเสียสมดุล นอกจากภาวะขาดน้ำแล้ว การปัสสาวะบ่อย ๆ ซึ่งเป็นอาการของโรคเบาจืดยังอาจนำมาสู่การสูญเสียเกลือแร่และแร่ธาตุต่าง ๆ ในร่างกายที่ทำให้สมดุลของเกลือแร่ในร่างกายผิดปกติ
ปวดศีรษะ
อ่อนเพลีย หรือรู้สึกเหนื่อยตลอดเวลา
มึนงง หงุดหงิดง่าย
ปวดกล้ามเนื้อ
ความอยากอาหารลดลง
คลื่นไส้
กล้ามเนื้อเป็นตะคริว