Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลังงานจากสารอาหารความต้องการ, TEE = BEE Activtyfactor Lnjury factor,…
พลังงานจากสารอาหารความต้องการ
ความต้องการใน 1 วัน
จะขึ้นอยู่กับอายุ เพศ ขนาดของรูปร่าง และกิจกรรม ดังนั้นความต้องการย่อมมีความแตกต่าง
วัยผู้ใหญ่เพศหญิง
-พลังงานสำหรับผู้ที่มีกิจกรรมปกติ ประมาณ 1400 กิโลแคลอรี่
-พลังงานสำหรับผู้ที่มีกิจกรรมเคลื่อนไหวมาก ประมาณ 1700 กิโลแคลอรี่
วัยผู้ใหญ่เพศชาย
-พลังงานสำหรับผู้ที่มีกิจกรรมปกติ ประมาณ 1800 กิโลแคลอรี่
-พลังงานสำหรับผู้ที่มีกิจกรรมเคลื่อนไหวมาก ประมาณ 2100 กิโลแคลอรี่
ลักษณะอาหาร ชนิด ปริมาณพลังงานของสารอาหาร
ปัจจัยที่มีผลต่อการเผาพลาญ
ฮอร์โมน : คนที่มีภาวะขาดฮอร์โมนบางตัว เช่น ไทรอยด์ฮอร์โมน ซึ่งทำหน้าที่ช่วยควบคุมอัตราการเผาพลาญพลังงาน ถ้าต่ำการเผาพลาญก็จะต่ำ
ภาวะการอดอาหาร : ทำให้มีอัตราการเผาพลาญต่ำแล้วเพิ่มมวกล้ามเนื้อโดยการออกกำลังกาย
องค์ประกอบของมวลกาย : คนที่อ้วนมีอัตราการเผาพลาญน้อยกว่าคนที่ผอม
อาหาร : รับประมานอาหารประเภทโปรตีนทำให้การเผาพลาญมากกว่าการบริโภค ไขมันและคาร์โบไฮเดรต
เพศ : เพศชายมีอัตราการเผาพลาญมากกว่าเพศหญิงเนื่องจากกล้ามเนื้อมากกว่าเพศหญิง
แอลกฮอล์ กาแฟ : ช่วยเพิ่มอัตราการเผาพลาญได้ แต่แค่ 2-3 ชม.เท่านั้น
อายุ : อายุมากขึ้นมีผลทำให้อัตราการเผาพลาญลดลง คนที่มีอายุมากกว่า 30 ปี อัตราการเผาพลาญลดลงปีละ 1-2 %
การคำนวณปริมาณและพลังงานสารอาหาร
วิธีการคำนวณพลังงาน
ผู้ชาย : BEE= 66.5+(13.8W)+(5.0H)-(6.8A)
ผู้หญิง: BEE= 665.1+(9.6W)+(1.8H)-(4.7A)
ปริมาณอาหารที่ควรรับประทานสำหรับพลังงานระดับต่าง ๆ
-เด็กอายุ 6-13 ปี-หญิงวัยทำงานอายุ 25-60 ปี -ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
ผู้ป่วยกลุ่มที่มี BMI < 18.5 1800 กิโลแคลอรี่
ผู้ป่วย DM HI ที่มี BMI _> 1200 - 1600 กิโลแคลอรี่
หญิงตั้งครรภ์ ปกติ 300
หญิงให้นมบุตรปกติ 500
GDM ดูจาก BMI < 18.5 น้ำหนักตัว
30 kcal.
BMI _> 23.0 น้ำหนักตัว
20 kcal
กลุ่มผู้ป่วยอายุ > 60 ปี 30 kcal./น้ำหนักตัวควรที่เป็นอายุ < 60 ปี 35 kcal./น้ำหนักตัวที่ควร
กิจวัตรประจำวัน
ผู้ใช้แรงงานปานกลาง เช่น ทำงานบ้าน ซักผ้า รีดผ้า ทำสวน ต้องการพลังงานปานกลาง
ผู้ใช้แรงงานเล็กน้อย เช่น ครู พนักงงานธนาคาร ผู้ทำงานในสำนักงงาน ต้องการพลังงานน้อย
ผู้ใช้แรงงานมาก เช่น ทำไร่ ทำนา งานกรรมการ แบกหาม งานต่าง ๆ ที่ต้องใช้พลังงานมาก
ขั้นตอนการคำนวณ
กระจายสัดส่วนของพลังงานที่ควรได้รั ซึ่งแหล่งอาหารที่ร่างกายต้องการเป็นจำนวนมาก
2.คำนวณหาปริมาณของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ตามสัดส่วนใน ข้อ 1)
3.กำหนดส้วนอาหารตามสัดส่วนของสารอาหารและพลังงาน ที่คำนวณไว้โดยใช้รายการแลกเปลี่ยนเป็นคู๋มือ
4.แบ่งสวนอาหารออกเป็นมื้อ ๆ โดยกระจายตามสัดส่วนของพลังงานที่ควรได้รับต่อมื้อ
5.กำหนดรายการอาหาร โดยการจัดรายการอาหารแบ่งตามมื้ออาหารให้สอคล้องกับข้อ 4 )
การประเมินภาวะโภชนาการ
ลักษณะหรือสภาพของร่างกายเนื่องจากอาหารที่รับประทานอาจจะเกิดผลดีหรือไม่ดีต่อร่างกายได้ โดยภาวะโภชนาการแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
ภาวะโภชนาการดี หมายถึง ลักษณะที่ดีของร่างกาย เนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ เหมาะสม ครบถ้วน ตามความต้องกานของร่างกายไม่มากหรือไม่น้อยเกินไปร่างกายสามารถจะนำไปใช้ได้ดีเกิดผลดีต่อร่างกายและจิตใจ
ภาวะโภชนาการไม่ดี หมายถึง ลักษณะที่ไม่ดีของร่างกายเนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะไม่เหมาะสม ตามต้องการของร่างกายมากหรือน้อยเกินไป เกิดผลไม่ดีต่อร่างกายและจิตใจ
ภาวะโภชนาการขาด เนื่องจากการบริโภค ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ภาวะโภชนาการเกิน เนื่องจากการบริโภคอาหารความต้องการของร่างกายซึ่งการเกิดภาวะโภชนาการเกินในเด็กนักเรียนเกิดจากการบริโภคอาหารประเภทโปรตีนมากเกิน
การประเมินแบ่งเป็ฯ 2 ประเภทใหญ่ๆ
การประเมินทางตรง
การประเมินทางอ้อม
อาจแบ่งแยกย่อย เป็น 4 ประเภท
การประเมินโดยใช้การวิเคราะห์สารชีวเคมีในร่างกาย (B = Biochemical Assessment)
การตรวจทางชีวเคมี เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ สามารถให้ข้อมูลเฉพาะมากกว่าวิธีอื่น ๆ
1.การประเมินโดยใช้วิธีการวัดสัดส่วนของร่างกาย (A= Anthropometry Assessment)
การประเมินส่วนประกอบของร่างกายที่เป็ฯปัจจัยกำหนดน้ำหนักตัว สัดส่วนใที่ใช้นการศึกษาการวัดความยาวหรือส่วนสู.และน้ำหนัก
3.การประเมินโดยใช้การตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่ปรากฎให้เห็น (C= Clinical Assessment)
การตรวจร่างกายเพื่อประเมินโภชนาการ เช่น ตา ผม เล็บ แผล ผิวหนัง
4.การประเมินโดยใช้การประเมอนอาหารที่บริโภค (D=Dietary Assessment)
การศึกษาที่รับประทานอาหารทั้งชนิดของอาหารและสารอาหาร ปริมาณอาหาร เวลาที่รับประทานอาหาร
การบันทึกอาหารบริโภคปัจจุบัน
24 hr. recal
-3 days recordl
-ทราบถึงความสมดุลของหมู่อาหาร
-ทราบถึงรูปแบบอาหารที่บริโภค
-เปรียนเทียบสัดส่วนและปริมาณที่ควรได้รับ
วัตถุประสงค์
2.สื่อสารข้อมูลได้ และสิ่งที่ได้แนะนำ แผน และการติดตามผล ตามแผนที่วางไว้ ให้แพทย์และทีมดูแลผู้ป่วยได้รับทราบ
3.เพือให้การรักษาผู้ป่วยไปในทิศทางเดียวกัน
1.รวบรวมประวัติของผู้ป่วย และข้อมูลทางโภชนาการบำบัด ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนักกำหนดอาหาร
4.ให้ผู็ป่วยได้รับความรู้สึกที่ดี เมื่อทราบว่าตนเองกำลังได้รับการดูแลอย่างไรต่อไป
5.ลดการทำงานซับซ้อน
การเขียน SOAP NOTE
การเขียน SOAP NOTE - Objective ข้อมูลที่เป็นจริง ข้อมูลที่ได้จากการวัด จากการตรวจวิเคราะห์ หรือข้อมูลที่ได้จากการประเมิน - เพศ อายุ การวินิจฉัย (diagnosis)
น้ําหนัก, ส่วนสูงx), IBW (Ideal body weight), การเปลี่ยนแปลงของน้ําหนัก (Change, เส้นรอบเอว, ความดัน, BMI (Body Mass in weight) ฯลฯ
การเขียน SOAP NOTE - Subjective
1.ข้อมูลที่ได้จาก Chart หรือเวชระเบียนผู้ป่วย - CC (Chief complaint) คือ อาการหรือปัญหาที่ทําใหผู้ป่วยต้องพบแพทย์ เช่น เบื่ออาหาร น้ําหนักลดลง หรือชาที่ปลายมือ ปลายเท้า
2.ข้อมูลที่ได้จากการพูดคุย ซักถามจากผู้ป่วยหรือญาติ
การเขียน SOAP NOTE - Assessmentประเมินผู้ป่วยโดยการนําข้อมูลจาก S และ O มาพิจารณา - ประเมินสภาวะโภชนาการ - ประเมินพลังงานและสารอาหารที่ได้รับ ว่าเหมาะสมหรือไม่ เทียบกับความต้องการที่ควรได้รับจริง - ประเมินความถูกต้องและความเหมาะสมของคําสั่งอาหารกับ สภาวะโรคของผู้ป่วย
การเขียน SOAP NOTE - Plan
วางแผนให้โภชนบําบัดที่เหมาะสม -คําแนะนําในการเลือกรับประทานอาหาร
-คําแนะนําในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-คําแนะนําในการออกกําลังกาย
TEE = BEE
Activtyfactor
Lnjury factor
การเขียน SOAP NOT
S หมายถึง Subjective
-O หมายถึง Objective
-A หมายถึง Assessment
-P หมายถึง Plan