Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Schizophrenia, นางสาวอัจฉรา อุประ เลขที่ 73 ห้อง A - Coggle Diagram
Schizophrenia
ผิดปกติทางความคิด ทำให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและความคิดในเรื่องต่างๆ ที่ไม่เป็นไปตามหลักความจริง และไม่สามารถลบความเชื่อนั้นออกไปจากความทรงจำได้
-
-
1.7 Somatic delusions คือ หลงผิดที่เชื่อว่าอาการเหล่านั้นมีสาเหตุมาจากทางร่างกายหรืออวัยวะ เช่น ต้องหาหมอเพื่อทำการตรวจทั้งที่ไม่ได้เป็นอะไร
-
1.3 Grandiose delusions คือ หลงผิดที่เชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น เป็นคนสำคัญ มีชื่อเสียงอย่างมาก
-
1.2 Referential delusions คือ หลงผิดที่เชื่อว่า ท่าทางคำพูดของบุคคล สภาพแวดล้อมนั้นหมายถึงตน เช่น คิดว่าคนอื่นนินทาตนเอง
-
-
-
- อาการประสาทหลอน (Hallucination)
ประสาทหลอนทางการได้กลิ่น (Olfactory Hallucination) มักจะคิดว่าสิ่งที่ตนเองกำลังได้กลิ่นนั้นเป็นกลิ่นบางอย่างรอบๆตัว แต่ในความจริงแล้วไม่มีกลิ่นนั้น
อาการหูแว่ว (Auditory Hallucination) เป็นลักษณะที่พบได้มากที่สุด ผู้ป่วยมักได้ยินเสียงที่ดังมาจากจิตใจหรือดังมาจากภายนอก เช่น มักจะได้ยินเสียงคนกำลังพูดคุยกัน คนกำลังเดิน เป็นต้น
เห็นภาพหลอน (Visual Hallucination) เห็นภาพหรือเหตุการณ์ขึ้นมาเองโดยที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริง เช่น เห็นสายน้ำเกลือเป็นงู
-
ประสาทหลอนทางการสัมผัส (Tactile Hallucination) อาจรู้สึกเหมือนถูกสัมผัสหรือมีบางสิ่งขยับอยู่ในร่างกาย เช่น รู้สึกเหมือนมีแมลงไต่อยู่บนผิวหนัง
-
-
เกณฑ์การวินิจฉัย
Brief pychotic disorder
วินิจฉัยตาม DSM-5 (A ต้องมีอาการอย่างน้อย1 ข้อ ใน A1 A2 A3) คือ A1. อาการหลงผิด A2. อาการหลอน A3. กระบวนความคิดและภาษาที่ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ อาการต้องเป็นต่อเนื่องอย่างน้อย 1 วันแต่ไม่เกิน 1 เดือน
-
Schizoaffective disorder
วินิจฉัยตาม DSM-5 (A มี major mood episodeร่วมกับAตามเกณฑ์วินิจฉัยโรคจิตเภท) อาการหลอนหรือหลงผิดคงอยู่ขณะที่ไม่มี major mood episode เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ อาการข้างต้นต้องไม่เกิดขึ้นจากการใช้สารหรือภาวะทางกาย
Delusional disorder
วินิจฉัยตาม DSM-5 (A มีอาการหลงผิดต่อเนื่องอย่างน้อย 1 เดือน นอกจากอาการในข้อA แล้วต้องไม่มีพฤติกรรมที่แปลกประหลาดและหน้าที่ด้านต่างๆเสียหายแต่ไม่มาก)
ระบาดวิทยา
ประเทศที่กำลังพัฒนาเพศชายมักจะมีอาการเริ่มต้นเร็วกว่าเพศหญิง ส่วนใหญ่การเจ็บป่วยด้วยโรคจิตเภทมักจะแสดงอาการครั้งแรกระหว่างอายุ 18-25 ปี อายุที่มากกว่า 45-50 ปีแพทย์ควรวินิจฉัยแยกออกจากสาเหตุทางกายอื่น ๆ สำหรับอาการแสดงเริ่มต้นของโรคจิตเภทส่วนมากมักจะแสดงอาการก่อนอายุ 45ปี
ความผิดปกติระดับโครงสร้าง เช่น เนื้อสมองบางส่วนมีขนาดเล็ก ปริมาณใยสมองและความสมบูรณ์ลดลง ระดับการทำงานของสารสื่อประสาท dopamine เพิ่มขึ้น ปริมาณ Synapse ลดลงมากหรือข้อมูลทางพันธุกรรม เช่น การมีคู่แฝดเป็นโรคจิตเภท เป็นต้น
- กระบวนความคิดและภาษาที่ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ (Disorganized thinking / speech)
สังเกตได้จากคำพูด เช่นผู้ป่วยตอบไม่ตรงคำถาม หรือมีการพูดเปลี่ยนเรื่องไปเรื่อย โดยใช้คำที่มีความหมายแต่ไม่เกี่ยวข้องกันมาเรียงประโยค
- พฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติหรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ (Grossly disorganized or abnormal motor behavior)
แสดงออกเป็นพฤติกรรมกระวนกระวายมักจะทำให้ผู้ป่วยดูแปลกในสายตาคนทั่วไป เช่นผู้ป่วยนั่งเฉย ๆ จนไม่สามารถทำงานได้
- อาการด้านลบ (Negative symptoms)
เช่น ผู้ป่วยการแสดงอารมณ์ที่ลดลง แรงกระตุ้นภายในที่ลดลง การพูดที่ลดลง การทำสิ่งเคยชอบหรือสนใจลดลง การเข้าสังคมลดลง เป็นต้น
โรคจิตเภท เป็นอาการของโรคที่ผิดปกติของความคิด ทำให้ผู้ป่วยมีความคิดและการรับรู้ไม่ตรงกับความเป็นจริง ทำให้มีผลเสียต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน
-