Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ, ข้อเสีย - Coggle Diagram
หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ
การบริหารคน : :silhouettes:
การบริหารงานบุคคล (Personnel Management) เป็นกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งกำลังคนที่เหมาะสมที่สุดกับงาน และใช้ทรัพยากรกำลังคนนั้นให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดตาม
เป้าหมายที่องค์การได้กำหนดไว้ รวมถึงการบำรุงรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพให้มีปริมาณ
เพียงพอ
ความสำคัญของการบริหารงานบุคคล
เพื่อสรรหาและเลือกสรร (recruitment and selection) ให้ได้บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ
และความประพฤติดีเข้ามาท างาน
เพื่อใช้ประโยชน์ (utilization) ของบุคคลอย่างเต็มกำลังในการทำงาน
เพื่อรักษาไว้ (maintenance) ซึ่งบุคคลให้ทำงานกับองค์การนานๆ
เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี (relationships) ของบุคคลกลุ่มต่างๆขององค์การ
. เพื่อพัฒนาทักษะและเสริมสร้างความสามารถของบุคลากรให้มีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง
การบริหารคนแบ่งเป็น2 ระดับ
ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) เป็นระบบการบริหารงานบุคคลที่ตรงข้ามกับระบบคุณธรรม ส่วนใหญ่จะยึดถือหลักพวกพ้อง เครือญาติ หรือมีผู้อุปการะ
ระบบคุณธรรม (Merit System) เป็นระบบที่นิยมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุดวัตถุประสงค์ คือ ต้องการขจัดระบบอุปถัมภ์ (Patronage)
หลักเกณฑ์การบริหาร
หลักความเสมอภาค (equality of opportunity) ผู้มีความรู้ความสามารถ และมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด มีโอกาสเท่ากันในการแข่งขันเข้ามาทำงาน
หลักความสามารถ (Competency) เป็นการพยายามคัดเลือกให้ได้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับตำแหน่งมากที่สุด
หลักความมั่นคง (Security of tenure) ความมั่นคงในงาน ย่อมมีความสสำคัญต่อผู้ปฏิบัติมาก
หลักการเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality)
ขั้นตอนการบริหารงานบุคคล
การสรรหา หมายถึง การแสวงหาบุคลากรที่มีความรู้ มีความสามารถ และมีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน
ให้มาสมัครงาน
บุคคลภายนอก
ข้อดี
มีโอกาสคัดเลือกพนักงานได้หลากหลาย
กว้างขวาง ไม่เกิดปัญหาการขาดแคลน
มีภาพพจน์ที่ดี ไม่ปิดกั้น
มีโอกาสได้แนวคิดใหม่ๆมาใช้พัฒนางาน
สิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่าย เสียขวัญและกำลังใจของพนักงาน ปิดโอกาสความก้าวหน้าของพนักงานภายใน
อาจเกิดข้อขัดแย้งระหว่างพนักงาน
ต้องศึกษาพนักงานใหม่อย่างรอบคอบ
บุคคลภายใน
ข้อดี
พนักงานเกิดกำลังใจในความก้าวหน้าของงาน
รู้จักกันดีอยู่แล้ว
เกิดความสามัคคี
ข้อเสีย
ขาดแคลนพนักงาน
การทำงานระบบเดิม
หลักการคัดเลือก
หลักความเท่าเทียมกัน (Equity) หมายถึง การให้โอกาสแก่ผู้สมัครโดยเท่าเทียมกัน และคัดเลือกโดยใช้ระบบคุณธรรม (Merit system)
ระบบการคัดเลือกที่มีประสิทธิภาพ (Effective selection) หมายถึงการคัดเลือกผู้เข้าสมัครงานได้ตรงกับความรู้ความสามารถ
การพัฒนาบุคลากร
๑. การฝึกอบรมทางด้านความรู้ (Knowledge Skill)
๒. การฝึกอบรมทางด้านเทคนิค (Technical Skill)
๓. การฝึกอบรมทางด้านมนุษยสัมพันธ์(Human Skill
๔. การฝึกอบรมทางด้านความคิด (Conceptual Skill)
การธำรงรักษาบุคลากร
เป็นการคงไว้ซึ่งบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ให้อยู่ในองค์กรให้นานที่สุด โดยมีวิธีหลากหลาย เช่น การใช้แรงจูงใจ
แรงจูงใจ
ภายนอก
เงินเดือน
ความมั่นคงต่อการทำงานและโอกาสก้าวหน้าในอาชีพ
สถานที่ทำงานมีสิ่งอำนวยความสะดวก มั่งคง ปลอดภัยผู้ร่วมงาน
มีอิสระในการทำงาน การแสดงความคิดเห็นคำติชม รางวัล การทำโทษ
ภายใน
เกิดจากความทะเยอทะยาน ในความต้องการก้าวหน้าในอาชีพ
ความสนใจ ที่ต้องการให้งานสำเร็จภายในเวลารวดเร็ว
มีความคาดหวัง คำชมเชย หรือ บำเหน็จรางวัล
การเสริมแรงจูงใจในทางบวก (positive reinforcement) หมายถึง การให้สิ่งจูงใจที่บุคลากรต้องการหรือชื่นชอบ เช่น การให้รางวัล โดยมีจุดประสงค์เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมการทำงานที่ดี รวมทั้งเพิ่มพฤติกรรมที่ดีให้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
การเสริมแรงจูงใจในทางลบ (negative reinforcement) หมายถึง การกำหนดเงื่อนไขที่บุคลากรทำงานไม่ต้องการหรือไม่ชอบ
การระงับพฤติกรรม (extinction) เพื่อลดการกระทำพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
การลงโทษ (Punishment) เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ( Performance Appraisal)
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
การประเมินคุณลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน เช่น ความร่วมมือในการทำงาน ความสามัคคี
การบริหารพัสดุ :pencil2:
วัสดุ(สิ่งที่ไม่คงทน ไม่ถาวรเช่น เครื่องเขียน หมึก)
ครุภัณฑ์(ลักษณะที่คงทนถาวรมีอายุการใช้งาน)
ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
วัตถุประสงค์การบริหารพัสดุ
เพื่อควบคุมการใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
เพื่อจัดหาพัสดุให้เพียงพอต่อการใช้อยู่ตลอดเวลา
เพื่อประหยัดงบประมาณหรือเงินบำรุงในการจัดซื้อพัสดุ
ง่ายต่อการตรวจสอบ ป้องกันทุจริต
ขั้นตอนการบริหารพัสดุ
วางแผน / กำหนดโครงการ
กำหนดความต้องการ
จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง
การแจกจ่าย
การบำรุงรักษา (๑) แบบป้องกัน (๒) แบบแก้ไข
การจำหน่าย
การบริหารงบประมาณ (Budget :money_with_wings:)
ความสำคัญและประโยชน์ของงบประมาณ
ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารหน่วยงาน ตามแผนงานและกำลังเงินที่มีอยู่
เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้มีประสิทธิภาพ
เป็นเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เป็นธรรม
เป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ งานและผลงานของหน่วยงาน
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) :
การจัดการกับเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์การ
เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเหมาะสม
รูปแบบการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก (Proactive) เป็นการเปลี่ยนแปลงตนเองก่อนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลงจากผู้อื่นซึ่งต้องอาศัยการวิเคราะห์สถานการณ์ และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยน แปลงเชิงรับ (Reactive) เป็นการถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่นตัวเองไม่ยอมที่จะ
เปลี่ยนแปลง หรือมีความคิดติดยึดในแนวทางเดิมๆมานาน
องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงในองค์การ
เทคโนโลยี (Technology)
ะเบียบสังคม (Social Order)
อุดมการณ์ (Ideology)
การขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลง
๑. การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
๒. การนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)
๓. การติดตามประเมินผล และรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
แรงต่อต้าน
ความกลัวว่าจะต้องสูญเสียประโยชน์ อำนาจ ความมั่นคง
ความรู้สึกหวั่นไหวต่อความคลุมเครือ ความไม่แน่นอน
การขาดความรู้ความเข้าใจที่ดีพอเกี่ยวกับแนวทาง วิธีการ และจุดหมายปลายทางของการเปลี่ยนแปลง
แรงเสริม
ความไม่พึงพอใจในสภาพปัจจุบันที่เป็นอยู่
ภาพลักษณ์ และการปฏิบัติตนของผู้นำที่แสดงถึงความมุ่งมั่น เอาจริงเอาจังต่อการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลในตำแหน่งต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มตำแหน่งผู้บริหาร
การได้ติดต่อสัมพันธ์กับภายนอกองค์การ ซึ่งทำให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์
ข้อเสีย