Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด, นางสาวทิวาพร ทองอิทร์ เลขที่ 49…
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
เริ่มตั้งแต่เจ็บครรภ์จริงถึงปากมดลูกเปิดหมดระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 8-24 ชั่วโมง เฉลี่ย 12 ชั่วโมง
ในครรภ์แรก และ 4-12 ชั่วโมงในครรภ์หลัง เฉลี่ย 6 ชั่วโมง
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
ผิดปกติ การสังเกตหน้าท้องว่ามี Bandl’s ring
กล้ามเนื้อมดลูกจะแข็งมาก มีระยะพักสั้น
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำและ การหมุนของศีรษะทารก
การเปิดขยายและความบางของปากมดลูก
ครรภ์แรก descent > 1 ซม ./ชม . ครรภ์หลัง descent > 2 ซม ./ชม .
Sagittal suture ของศีรษะทารกหมุน มาอยู่ในแนว A-P diameter
ตำแหน่ง FHS
บริเวณรอยต่อกระดูกหัวเหน่า (Symphysis pubis) ซึ่งแสดงว่าใกล้คลอด
FHS ผู้คลอดมีภาวะเสี่ยงตํ่า ในระยะ latent ควรฟังทุก 1 ชั่วโมง
มูก, ถุงน้ำคร่ำ, อาการผู้คลอด
มูกเปลี่ยนจากมูกเป็นมูกเลือด หรือเลือดมากขึ้นแสดงว่าปากมดลูกเปิดเพิ่มขึ้น 50 cc. (tickle of blood)
การแตกของถุงน้าคร่ำ บอกได้ว่าการคลอดก้าวหน้าขึ้น
ปากมดลูกเปิดมากขึ้น
อาการ กระสับกระส่าย ควบคุมตนเองไม่ได้
การตรวจทางช่องคลอด
ระยะ latent ควรตรวจทุก 4 ชั่วโมง
ระยะ active ควรตรวจทุก 2 ชั่วโมง
หลักการประเมินผู้คลอดแรกรับใหม่
การซักประวัติ :check:
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล :red_flag:
การเจ็บครรภ์ (Labor pain)
2.มูก (Show)
มีน้ำเดินหรือถุงน้ำแตก (Rupture of membranes)
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต :red_flag:
ประวัติการแท้งการขูดมดลูก
อาจทาให้รกเกาะแน่นกว่าปกติ
ประวัติภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
Ex.ความดันโลหิตสูง บวม ชัก ตกเลือด
ประวัติการคลอด
จำนวนครั้ง อายุครรภ์ขณะคลอด ชนิดของการคลอด
ประวัติของทารก
Ex. เพศ นำ้หนัก ความพิการ
ประวัติความผิดปกติ
รกค้าง ตกเลือด
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน :red_flag:
อายุครรภ์
อาการผิดปกติขณะตั้งครรภ์
Ex. เบาหวาน ความดัน โลหิตจาง
ลาดับของการตั้งครรภ์
ประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม และศัลยกรรม ทั้งปัจจุบัน และอดีต :red_flag:
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆ การผ่าตัด :red_flag:
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว :red_flag:
เบาหวาน โรคเลือด ความดัน กามโรค
ประวัติด้านจิตสังคม :red_flag:
ประสบการณ์
การวางแผน
ความรู้และเจตคติต่อการคลอด
ข้อมูลส่วนบุคคล :red_flag:
Ex. ชื่อ อายุ อาชีพ ศาสนา การศึกษา
การตรวจร่างกาย :check:
การตรวจร่างกายทั่วไป :<3:
ลักษณะรูปร่าง
ความสูงน้อยกว่า 145 cm อาจมีปัญหาเชิงกรานแคบ
สภาพของผู้คลอด
สัญญาณชีพ ควรบันทึกทุก 4 ชั่วโมง
น้ำหนัก
ถ้าอ้วนมากอาจทาให้คลอดยาก ทั้งยังมีผลต่อท่าคลอดด้วย
พฤติกรรมการแสดงออกถึงความเจ็บปวด
EX. การหายใจเร็ว การเกร็งกล้ามเนื้อ เหงื่อออกมาก กระสับกระส่าย
อาการบวม (Edema)
การตรวจร่างกายเฉพาะที่ :<3:
การดู
ขนาดของท้อง
การเคลื่อนไหวของทารก
ลักษณะมดลูก
การฟัง
การฟังเสียงหัวใจทารก
อัตราการเต้นของหัวใจทารกประมาณ 110-160 ครั้ง/นาที
ถุงน้ำทูนหัวแตกควรฟังทันทีเพราะอาจมีสายสะดือพลัดต่ำ
ทารกมีท่าก้นเป็นส่วนนำ ได้ยินเหนือระดับสะดือ
ศีรษะเป็นส่วนนำ เสียงหัวใจจะได้ยินที่ตำ่กว่าระดับสะดือ
ฟังเสียงหัวใจเด็กได้เมื่อตั้งครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นไป
การคลำ
ส่วนนำทารก ท่า
การคาดคะเนน้ำหนักทารกในครรภ์
ความสูงของยอดมดลูก
ครบกำหนด 33-37 cms
ประเมินภาวะขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์ (Fetal distress)
อัตราการเต้นของหัวใจ ที่ผิดปกติ
มีขี้เทาในนำ้คร่ำ
จังหวะการเต้นของหัวใจทารกไม่สม่ำเสมอ
การตรวจภายใน :<3:
สภาพปากมดลูก
การเปรียบเทียบการขยายตัวของปากมดลูก
Active phase ปากมดลูกเปิด 4-7 ซม
Transition phase ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 8 ซม
Latent phase ปากมดลูกเริ่มเปิด- 3 ซม
ความบางของปากมดลูก (Cervical effacement)
ถ้าความหนาเหลือเพียง 1 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 50%
ถ้าความหนาเหลือเพียง 0.5 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 75 %
ถ้าความหนาเหลือเพียง0.2-0.3 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 100 %
ตำแหน่งของปากมดลูก
ตรวจหาส่วนนำ
ตรวจหาท่าของทารก (Position)
รอยต่อแสกกลาง (Sagittal suture) ว่าอยู่หน้า หลัง เฉียง
ตรวจหาส่วนนำ
ศีรษะ กลม เรียบ และแข็ง
ก้น ไหล่ มือจะนุ่ม ไม่เรียบ
การตรวจดูสภาพของน้ำทูนหัว (Bag of fore water )
อย่าทารุนแรงเพราะจะทำให้ถุงนำ้แตกก่อนกำหนด
การตรวจหาขนาดของก้อนโน (Caput succedaneum)
และการเกยกันของกระดูกศีรษะ (Molding)
การคาดคะเนเวลาการคลอด
Active phase
ครรภ์หลังปากมดลูกเปิดขยาย 1.5 cm./hr.
ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยาย 1 cm./hr. (1.2 cm./hr.)
ข้อห้ามในการตรวจภายใน
มองเห็นศีรษะของทารกในครรภ์แล้ว
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกาหนด
ส่วนนำทารกยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน
มีประวัติเลือดออก ระหว่างการตั้งครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :<3:
ผลการตรวจเลือด
ผลการตรวจปัสสาวะ
หลักการประเมินสภาวะของ
ทารกในครรภ์
การเต้นของหัวใจทารก
ประมาณ 110 – 160 ครั้งต่อนาที มีอัตราการเต้นสม่าเสมอ
ถุงน้ำคร่ำแตก ควรฟังเสียงหัวใจทารกทันที
ลักษณะน้ำคร่ำ
ปกติ น้ำคร่ำจะขุ่นคล้ายน้ำมะพร้าว
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้วมีขี้เทาปน น้ำคร่ำมีสีเขียว หรือสีเหลือง มีภาวะทารกขาดอากาศหายใจ (fetal distress) พบเฉพาะในกรณีที่ทารกมีศีรษะเป็นส่วนนำเท่านั้น
การดิ้นของทารกในครรภ์
10 ครั้งในช่วงระยะเวลา 12 ชั่วโมง
หากดิ้นน้อยลงหรือหยุดดิ้น ต้องช่วยเหลือให้มีการคลอดอย่างรีบด่วน
การวิเคราะห์เลือดของทารกในครรภ์
เพื่อค้นหาภาวะขาดออกซิเจนของทารก
ปกติ pH อยู่ระหว่าง 7.20 – 7.45
ต้องทำร่วมกับการตรวจวีธีอื่น เพื่อความแม่นยำ
กิจกรรมการพยาบาล
เมื่อเข้าระยะ Active phase
ให้งดการดื่มนํ้าและรับประทานอาหารก่อนถึงเวลาคลอด 4 ชม.
สังเกตลักษณะของการขาดนํ้าของผู้คลอด
เจ็บครรภ์คลอด
แนะนำให้ การลูบหน้าท้อง
ควรเปลี่ยนทุก 30-60 นาที เพื่อเพิ่มความสุขสบาย
การหายใจ
Transition phase ปากมดลูกเปิดตั้งแต่8 ซม
Pantand blow pattern
(หายใจแบบตื้น เบา เร็วและเป่าออก)
Active phase ปากมดลูกเปิด 4-7 ซม
Shallow accelerated-decelerated pattern
(หายใจช้าๆ สลับกับการหายใจแบบตื้น เบา เร็ว)
Latent phase ปากมดลูกเริ่มเปิด- 3 ซม.
ควบคุมการหายใจระดับทรวงอกโดยการหายใจแบบช้า ๆ ลึก
จัดกิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ
แนะนำใหเ้นอนตะแคง การไหลเวียนของโลหิตไปยังรกดีขึ้น
ป้องกันการติดเชื้อ ของการคลอด
รักษาความสะอาดร่างกายทั่วไป
ถุงนํ้าแตกก่อนเข้าสู่ระยะคลอดควรให้ใส่ผ้าอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ทำคลอดด้วยวิธีการปราศจากเชื้อ
บันทึกสัญญานชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะ อุณหภูมิ
ด้านจิตใจ อารมณ์และสังคม
แนะนำให้ทราบถึงสถานที่เครื่องมือเครื่องใช้
ดูแลผู้คลอดด้วยความเท่าเทียมกัน
ช่วยให้ผู้คลอดคลายความวิตกกังวลและความกลัว
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามและระบายความรู้สึกต่าง ๆ
ปลอบโยนให้กำลังใจ และเป็นที่ปรึกษาของผู้คลอดรับฟังและพร้อมที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ผู้คลอด
ให้โอกาสผู้คลอดพบปะญาติ
การเตรียมผู้คลอด
ด้านร่างกาย
การสวนอุจจาระ
ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดมากกว่า 7 เซนติเมตรและครรภ์หลังเปิดมากกว่า 5
การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก และฝีเย็บ
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคลอดรวมทั้งแผนการรักษา และการช่วยเหลือในระยะคลอด ในการปฏิบัติการพยาบาลจำเป็นต้องบอกเหตุผลในการตรวจทุกครั้ง
แนะนำให้ผู้คลอดปัสสาวะให้ทุก 2 ชั่วโมง เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง ไม่ให้ขัดขวางการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ในระยะที่เจ็บครรภ์ไม่มากดูแลให้ได้รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย เคี้ยวครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่ขึ้น หรือระยะที่สองของการคลอดควรงดนํ้า และอาหารจำเป็นต้องดูแลให้ได้รับสารนํ้าให้ถูกชนิดและจำนวน
สิ่งแวดล้อม
จัดของเครื่องใช้ให้อยู่ใกล้มือ
จัดให้ผู้คลอดพักผ่อนให้เพียงพอในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม สะอาด
จัดผู้คลอดนอนตะแคงซ้ายเพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงทารก
ดูแลห้องนํ้า ห้องส้วมให้สะอาดไม่เปียกลื่น
จัดวางของต่าง ๆ ให้เป็นระเบียบไม่กีดขาวงทางเดิน
การช่วยผู้คลอดเคลื่อนย้ายควรทำด้วยความระมัดระวัง ควรย้ายด้วยรถนอน
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดทุก 2 ชม.
นางสาวทิวาพร ทองอิทร์ เลขที่ 49 รหัสนักศึกษา 612401050 ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 29