Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดา Primigravidarum อายุ 33 ปี 65 Kg. Ht 155 cm, นางสาวชนาพร เพ็งธรรม…
มารดา Primigravidarum อายุ 33 ปี 65 Kg. Ht 155 cm
แรกรบั 06.00 น GA 41+2 wk. V/S ปกติPV CX. 3 cm. Eff 70% station -1 ROA MI I=4'20" D=30" intensity ++ FHS 138 bpm EFW 3,300 g.
ส่งตรวจ Ultrasonography
วิธีตรวจ
จัดท่านอนให้มารดานอนหงายราบในกรณีตรวจทางหน้าท้องหรือนอนหงายราบชันเข่าในกรณีสวนทางช่องคลอ
ผู้ตรวจเคลื่อนไหวหัวตรวจไปตามผนังหน้าท้องที่ทาด้วยสารหล่อลื่นใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที
จอภาพจะแสดงผลให้เห็นในเวลาที่ตรวจ
ชนิดารตรวจ
EDDหรือEDC วันครบกำหนดคลอดที่อายุครรภ์ 40 สัปดาห์
การวัดความยาวของทารก (CRL)
การวัดความกว้างของศีรษะทารก.(BPD)
การวัดเส้นรอบวงศีรษะ (HC)
การวัดเส้นรอบท้อง(AC)
การวัดน้ำคร่ำ (AFI)
การวัดความยาวกระดูกต้นขา(FL)
การคำนวณอายุครรภ์(GA)
การคะเนน้ําหนักทารกในครรภ์ (EFW)
ข้อบ่งชี้ในการทำ
สงสัยว่ามีความผิดปกติหรือมีเลือดออกผิดปกติ
คาดคะเนอายุครรภ์ตรวจครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง
ความแก่ของรก
ตรวจการเจริญเติบโตของทารกภาวะสุขภาพทารกหรือความผิดปกติของทารกในครรภ์
08.00 น PV CX. 3 cm. Eff 70% station -1 ROA MI I=4'10" D=35" intensity ++ FHS 140 bpm.
ได้รับ 5% DN/2 1000 ml add Oxytocin 10 u vain drip 10 drop/min
กลไกการออกฤทธิ์
ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมไฮโปทาลามัสเป็นยาที่ออกฤทธิ์โดยเหนี่ยวนำให้เกิดการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกอย่างเป็นจังหวะ
ผลข้างเคียง
ต่อทารก
Death fetus
Fetal distress
Preterm labor
ต่อมารดา
มดลูกแตกมดลูกแตกเกิดการคลอดเฉียบพลัน
ปากมดลูกหรือช่องทางคลอดฉีกขาด
ภาวะสารน้ำเป็นพิษ
ภาวะตกเลือดหลังคลอด
ข้อบ่งชี้
ช่วยในการให้นมบุตร
ใช้สำหรับภาวะตกเลือดหลังคลอด
เดี๋ยวนำให้เกิดการคลอด
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและอัตราการเต้นของหัวใจทารกก่อนและหลังให้ยาทุก 1 ชั่วโมงเฝ้าระวัง Tetanuc contraction Uterine rupture
การบริหารยา
เจือจาง oxytocinในสารน้ำ isotonic solution ในอัตราส่วนที่กำหนดตามมาตรฐาน
เติมให้สารน้ำที่ไม่มีออกซิโทซินสร้างก่อนและให้สารอาหารที่มีโปรตีนในอัตราที่ช้าๆก่อน เช่น Milliunit/min ผ่านเครื่อง infusion pump
ปรับอัตราการให้ยาออกซิโทซินเพิ่มขึ้น 1-2 Milliunit/min ตามการตอบสนองของการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมง(อัตราการให้ยาสูงสุดที่ได้ผล 20milliunit/min)
ปรับอัตราการให้ยาออกซิโทซินลดลงหรือหยุดการให้ยาเมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกนาน 40-60 วินาที และหดรัดตัวทุกๆ 2-3 นาทีเมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกนานเกินกว่า 90 วินาทีหรือหดรัดตัวที่มากกว่า 6 ครั้งใน 10 นาทีหรือแรงมากเกินไปควรหยุดยา
12.00 น PV CX. 6 cm. Eff 80% station 0 ROA MI I=2'45" D=50" intensity +++ FHS 106
On Electric Fetal Monitoring
แปลผล Category lll : Late Deceleration
Intraue resuscitation
ให้สารน้ำ
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
เฝ้าระวัง FHR ทุก 15-30 นาที หรือ continuous FHR monitoring
ให้ออกซิเจน Mask with Bag 10 Lpm. หยุดยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ถ้าผิดปกติ ยุติการตั้งครรภ์
สูติศาสตร์หหัตถการ
3 more items...
การตรวจ NST
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ
สตรีตั้งครรภ์ที่รู้สึทารกดิ้นน้อยลง
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
ทารกในครรภ์มีภาวะการเจริญเติบโตในครรภ์ช้า
ความดันโลหิตสูง,เบาหวาน
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะแทรกซ้อน อายุ 35 ปี ขึ้นไป
วิธีการตรวจ
อายุครรภ์เหมาะสมในการตรวจคือ 30 - 32 wk
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจ
Tocotransducer สำหรับวัดการหดรัดตัวของมดลูก
Ultrasound transducer สำหรับบอกอัตราการเต้นของหัวใจทารก
Marker กดเมื่อรู้สึกว่าทารกมนครรภ์ดิ้น
Papergraph แผ่นกราฟบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารก การหดรัดตัวของมดลูก และเครื่องหมายแสดงการดิ้นของทารก
การตรวจมิได้ใส่เครื่องมือใดๆ เข้าสู่ร่างกาย ไม่ทำให้เกิดความเจ็บปวด แต่จะมีการติดตั้งเครื่องมือบนร่างกายของสตรีตั้งครรภ์ เพื่อบันทึกการเต้นของหัวใจและการเคลื่อนไหวของทารก
การแปลผล
ผลปกติ fetal Heart Sound เพิ่มขึ้นตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไปจุดสูงสุดของการเพิ่มขึ้นอยู่เหนือ baseline ตั้งแต่ 15 bpm ขึ้นไประยะเวลาตั้งแต่เริ่มจนกลับสู่ baseline นานมากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm
คำแนะนำหลังตรวจ
หลังการตรวจมีความเสี่ยงต่ำให้นับลูกดิ้นต่อทุกวัน
มีข้อบ่งชี้ให้ตรวจ NST ซ้ำ 1-2 ครั้ง/สัปดาห์
สงสัยทารกโตช้าในครรภ์น้ำคร่ำน้อยตรวจเพิ่มเติมด้วยวิธีอื่น เช่น BPP, Umbilical artery dopper
ผลผิดปกติ(reactive) FHS ไม่เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ของรีแอคทีฟภายในระยะเวลาของการตรวจนาน 40 นาที
คำแนะนำหลังการตรวจ
คำแนะนำหลังการตรวจ nst ควรตรวจประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยวิธีอื่นเช่น cst bpp เพิ่มเติม
การตรวจ CST
การแปลผล
Negative Contrction stress test
ไม่พบ deceleration ของ FHR ในช่วง 3 contraction ใน 10 นาที
Post Contrction stress test
พบ latedeceleration มากกว่า 50 % ของจำนวนครั้งการหดรัดตัวของมดลูก ใน 10 นาที
ข้อบ่งชี้
ทำ NST ได้ผล Non reactive
มารดาตั้งครรภ์เกินกำหนด
มีการเร่งการเจ็บครรภ์โดยใช้ยาเร่งคลอด
secondary arrest of dilatation ปากมดลูกไม่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเลยภายใน 2 ชั่วโมงโดยปกติที่ต้องมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างเพียงพอและปากมดลูกต้องเปิดขยายมากกว่า 10 ขึ้นไป
สาเหตุ
CPD, fetal malposition, uterine dysfunction
การพยาบาล
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด ทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลสารน้ำสารอาหารให้ผู้คลอดได้รับเพียงพอ
ประเมินช่องคลอดร่วมกับการประเมินระดับส่วนนำของทารก
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์ทุก 1 ชั่วโมง
กระตุ้นการขับปัสาวะ
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
การตกเลือด (hemorrhage) จากการทำสูติศาสตร์หัตถการหรือมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ความเครียดและความอ่อนล้า
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
ทารก
Fetal distress
infection
Birth injury
Neonatal complications
นางสาวชนาพร เพ็งธรรม เลขที่ 15 ก
สถานการณ์ที่ 1