Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์,…
กฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การประกอบวิชาชีพการพยาบาลเป็นการปฏิบัติงานที่กระทำต่อชีวิตมนุษย์ซึ่งหากเกิดความผิดพลาดย่อมทำให้เกิดความเสียหายขึ้นกับ ชีวิต ร่างกาย
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายอาญาจะทำให้ผู้ประกอบวิชาชีพเข้าใจถึงหลักเกณฑ์
เพื่อระมัดระวังมิให้เกิดการกระทำผิด
กฎหมายอาญา(Crimical law)
กฎหมายมหาชนประเภทหนึ่งที่กำหนดความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับราษฎร
เกี่ยวกับการกระทำที่เป็นความผิดและการลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้
(Criminal law) เป็นกฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้นเพื่อกำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น
Our specialist criminal law team can assist nurses in relation to criminal cases.
Nurses, by way of example, might be investigated for serious crimes such as gross negligence manslaughter, assault of patients, or theft. Such crimes can be career ending.
A nurse who is arrested and subject to a police interview is entitled not only to take legal advice but also to be represented throughout their interview.
ประเภทของกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญา
เช่น
ความผิดบานลักทรัพย์
วิ่งราว
รับของโจร
ช่มชืนชำเรา
กฎหมายที่รวบรวมการกระทำผิดสำคัญๆ
2.กฎหมายอาญาประเภทอื่นๆ
กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดเฉพาะเรื่องนอกจากได้กล่าวไว้
เช่น
พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2479
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541
ความผิดทางอาญา
แบ่งออกเป็น
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดที่สำคัญและร้ายแรง
ตัวบุคคลที่ได้รับความเสียหายจะดำเนินคดีฟ้องร้องผู้กระทำผิดได้ด้วยตนเอง
รัฐจำเป็นต้องเข้าไปดำเนินคดีเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองได้ด้วย
ความผิดส่วนตัว
ความผิดประเภทนี้ตัวผู้ได้รับความเสียหายเท่านั้นที่จะฟ้องร้องได้เอง
บุคคลอื่นไม่อาจดำเนินการแจ้งความดำเนินคดี(เว้นแต่จะได้รับมอบอำนาจจากผู้เสียหาย)
ความผิดที่ไม่ร้ายแรงและมีผลกระทบกระเทือนต่อผู้ที่ได้รับความเสียหายแต่ฝ่ายเดียว
การกระทำผิดที่มีผลกระทบต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ
การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์กับความผิดทางอาญา
การเปิดเผยความลับผู้ป่วย
ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้ป่วยโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่แล้วเปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นกัน
ประมาทในการประกอบวิชาชีพ
กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา
แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง
ความผิดตามมาตรานี้
ได้แก่การฉีดยาที่สะโพกผิดเทคนิคทำให้เส้นประสาท SCIATICได้รับบาดเจ็บ ผู้ส่งผลให้ป่วยเป็นอัมพาต
การวางกระเป๋าน้ำร้อนและทำเกิดการไหม้ของผิวหนังผู้ป่วย
ทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วย
ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญาต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองไม่ได้ทอดทิ้งผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้นั้นเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี
หรือปรับไม่เกินหกพันบาท
ทั้งจำทั้งปรับ
การทำหรือรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ
ผู้ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์กฎหมายบัญชีหรือวิชาชีพอื่นใดทำคำรับรองเอกสารอันเป็นเท็จโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
ระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี
หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท
ทั้งจำทั้งปรับ
ประกอบวิชาชีพโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม
ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่นให้กระทำการใดหรือไม่กระทำการใด
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี
หรือปรับไม่เกินหกพันบาท
ทั้งจำทั้งปรับ
การทำให้แท้งลูก
ได้แก่
ผู้ใดทำให้หญิงแท้งลูกโดยหญิงนั้นยินยอม
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่
เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
เมื่อเกิดความจำเป็นในลักษณะข้างต้นกฎหมายอาญาอนุญาตให้แพทย์ทำแท้งให้กับหญิงได้และโดยหลักเกณฑ์กำหนดให้ผู้ทำแท้งเป็นแพทย์เท่านั้น
การไม่ช่วยเหลือหรือปฏิเสธการประกอบวิชาชีพ
ผู้ใดเห็นผู้อื่นตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิตซึ่งตนอาจช่วยได้โดยไม่กลัวอันตรายแก่ตนและผู้อื่น
แต่ไม่ช่วยตามความจำเป็น
โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน
หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
ทั้งจำทั้งปรับ
ความผิดมาตรานี้
การปฏิเสธไม่ช่วยเหลือผู้ป่วยที่เข้ามาขอรับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาล
หลักเกณฑ์ความรับผิดชอบทางอาญา
ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ใดจำต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่นให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดถ้ากระทำพอสมควรผู้นั้นไม่มีความผิด
หลักเกณฑ์
ภยันตรายนั้นเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง
ต้องเป็นการกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่นให้พ้นจากภยันตรายนั้น
ต้องเป็นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
ความยินยอม
การอนุญาตให้กระทำได้
องค์ประกอบของความยินยอม
ต้องยินยอมโดยบริสุทธิ์ใจ
ความยินยอมต้องมีอยู่ในขณะกระทำผิด
ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
หน้าที่จักต้องกระทำ
1.โดยกฎหมายบัญญัติ เช่น บิดามารดามีหน้าที่เลี้ยงดูบุตร
โดยการกระทำของผู้กระทำผิดเอง เช่นหลับเวรปล่อยให้ออกซิเจนหมด
เหตุยกเว้นโทษ
แต่บางกรณีบุคคลกระทำความผิดการกระทำนั้นเป็นความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษเพราะมีเหตุยกเว้นโทษตามกฎหมาย
บุคคลจะต้องรับผิดทางอาญาเมื่อการกระทำของบุคคลนั้นครบองค์ประกอบที่สำคัญ
การกระทำนั้นกฎหมายบัญญัติว่าเป็นการกระทำผิดและกำหนดโทษไว้
3.ต้องกระทำโดยเจตนา หากเป็นการกระทำโดยประมาทหรือไม่เจตนา ต้องมีกฎหมายกำหนดไว้ด้วยว่าจะต้องรับโทษ
ต้องมีการกระทำ
กระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
ผู้ใดกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงานแม้คำสั่งนั้นจะมิชอบด้วยกฎหมาย
ถ้าผู้กระทำมีหน้าที่หรือเชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติ
ไม่ต้องรับโทษ
หลักเกณฑ์
คำสั่งนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย
คำสั่งที่กฎหมายไม่ให้อำนาจที่จะให้ออกคำสั่ง
ผู้กระทำมีหน้าที่หรือเชื่อโดยสุจริตใจว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม
กระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
การกระทำโดยไม่เจตนา
การกระทำที่ไม่ทั้งประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลที่เกิดขึ้นจากการกระทำ
กระทำผิดเพราะไม่สามารถรู้ผิดชอบ
ผู้ใดกระทำความผิดในขณะไม่สามารถบังคับตนเองได้เพราะมีจิตบกพร่องโรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือน
ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น
หลักการ
ต้องกระทำผิดในขณะที่ไม่สามารถรู้รับผิดชอบหรือไม่
2.เพราะจิตบกพร่อง
กระทำผิดด้วยความจำเป็น
เพราะอยู่ในที่บังคับหรือภายใต้อำนาจซึ่งไม่ซึ่งไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
เพราะเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นจากภยันตรายที่ใกล้จะถึงและไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นได้
การกระทำโดยงดเว้น
บทบัญญัติของกฎหมายนี้ถือว่าการที่บุคคลใดมีหน้าที่ที่จะต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันผลร้ายอย่างใดอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นต้องถือบุคคลผู้มีหน้าที่นั้นเป็นผู้กระทำให้เกิดผลร้ายแรงเอง
การกระทำโดยประมาท
มาตรา 59 วรรค 4
ได้แก่
กระทำความผิดโดยมิได้เจตนาแต่โดยปราศจากความระมัดระวัง
ซึ่งบุคคลเหล่านั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์
และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังแต่ไม่เพียงพอ
องค์ประกอบของการกระทำโดยประมาท
2.ได้กระทำไปโดยปราศจากความระมัดระวัง
ต้องมีตามวิสัย
พฤติการณ์
3.ผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังได้แต่หาใช้เพียงพอไม่
1.การกระทำนั้นเป็นการกระทำที่ไม่เจตนากระทำผิด
การกระทำโดยเจตนา
มาตรา 59 วรรค 2 การกระทำโดยเจตนา
ได้แก่
กระทำโดยรู้สึกในการกระทำและขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผล
องค์ประกอบของการกระทำโดยเจตนา
ต้องกระทำโดยรู้สึกในการกระทำ
ต้องกระทำโดยประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล
4.ไม่มีกฎหมายยกเว้นความรับผิดหรือกฎหมายยกเว้นโทษ
อายุความและโทษทางอาญา
การลงโทษผู้กระทำผิดทางอาญาต้องอยู่ในระยะของ
อายุความที่ศาลจะลงโทษได้ด้วยหากผู้เสียหายได้ปล่อยปละละเลยหรือจำเลยได้หลบหนีไปจนหมดอายุความแล้วจะสั่งฟ้องผู้ต้องหาไม่ได้
หรือศาลจะสั่งลงโทษจำเลยอีกไม่ได้
สภาพบังคับของกฎหมาย
การลงโทษเป็นสิ่งที่แสดงออกถึงความรู้สึกของชุมชนในการโต้ตอบผู้ที่กระทำละเมิด
โทษสำหรับผู้กระทำ
กักขัง
ปรับ
ริบทรัพย์สิน
จำคุก
ประหารชีวิต
นางสาว นวรัตน์ ร้อยอำแพง เลขที่ 57 รุ่นที่ 36/1 รหัสนักศึกษา 612001058
แหล่งที่มา:นันทวัฒน์ ลาวิไล.(2560).กฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพพยาบาล.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2563 จาก,
https://sites.google.com/site/websitpheuxkarreiynru234/kdhmay-raththrrmnuy
พรจันทร์ สุวรรณชาต.(2559).จริยธรรมและกฎหมายในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2563 จาก,
http://www.natne.or.th/images/01_Event/18112559/002.pdf
เนธิภัททิก์ เสฏฐิตานันท์.(2559).กฎหมายและจริยธรรมผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2563 จาก,
http://www.phraehospital.go.th/ph11/download/law_nurse_2559.pdf
จินตนา สุวิทวัส.(2561). พยาบาลกับการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพของผู้รับบริการ.วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ.2561.(3),151-155. file:///C:/Users/Lenovo/Downloads/160819-Article%20Text-444732-1-10-20181218.pdf
พนมพร ศิลาพันธ.(2561).นโยบายสิทธิผู้ป่วย.สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พ.ค.2563 จาก,
http://wachira.ppho.go.th/web_wachira/knowledge_file/20180516152452_16.pdf
Nurses Defence Service. (2018).Crimical Law Representation for Nurses. Retrieved 2 June 2020 from,
https://nursesdefenceservice.com/criminal-law-representation-for-nurses/
Alene Burke.(2020). ethical practice: NCLEX-RN. Retrieved 2 June 2020 from,
https://www.registerednursing.org/nclex/ethical-practice/
Lisa M.(2020). Nursing Ethics considerations. Retrieved2 June 2020 from,
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK526054/