Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:smiley:บทที่ 2 : ศาสนากับจริยธรรมและวิชาชีพการพยาบาล :smiley:, :pen…
:smiley:
บทที่ 2 : ศาสนากับจริยธรรมและวิชาชีพการพยาบาล
:smiley:
ความสัมพันธ์ของจริยศาสตร์กับวิทยาศาสตร์และศาสนา
จริยศาสตร์กับวิทยาศาสตร์
จริยศาสตร์
: พฤติกรรม , เป็นสาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาที่ตัดสินใจด้วยเหตุผล
วิทยาศาสตร์
: หลักฐานเชิงประจักษ์ ความรู้ ความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริง
จริยศาสตร์กับจิตวิทยา
จิตวิทยา
: สาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์พฤติกรรมของมนุษย์
วิทยาศาศตร์กับศาสนา
ศาสนา
: ข้อผูกพันธ์ระหว่างมนุษย์กับความจริงสูงสุด ทุกศาสนาสอนให้ทำดี
ศาสนากับกฏหมาย
ศาสนา
: ไม่มีสภาพบังคับไว้แน่นอน ใครทำใครได้ ถ้าไม่ทำจะถูกรังเกียจ
กฏหมาย
: มีสภาพบังคับชัดเจน ทันที
ศาสนากับจริยศาสตร์
โลกียะ
: เข้าใจเรื่องทุกข์ เอาชนะความทุกข์
โลกุตระ
: ดับกิเลส นิพพาน รู้แจ้ง
ความจริงสูงสุดในพุทธศาสนา
กฏไตรลักษณ์
: กฏแห่งธรรมชาติ
อนิจจัง
: ความไม่เที่ยง
ทุกขัง
: ความทนอยู่ไม่ได้
อนัตตา
: ความไม่ใช่ตัวตน
อริยสัจ 4
: กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทุกข์
: ความไม่สบายการ ไม่สบายใจ (การซักประวัติ)
สมุทัย
: เหตุแห่งทุกข์ (ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล)
มรรค
: วิธีการดับทุกข์ (กิจกรรมการพยาบาล)
นิโรธ
: ผลของการดับทุกข์ (ผลของการให้กิจกรรมการพยาบาล)
ปฏิจจสมุปบาท
: เป็นหลักธรรมที่แสดงให้เห็นถึงกระบวนการเกิดการดำเนินไปและการดับไปของชีวิต
นิพพาน
: เย็น คือ การวางใจในสิ่งสมมติ อันเป็นเหตุให้ใจนั้นสงบเย็นจากการวางความคิดที่พ้นสมมติ
ศาสนาพุทธกับจริยธรรม
ชั้นสูง
: มรรคมีองค์ 8
สัมมาทิฏฐิ
(ความเห็นที่ถูกต้อง) หมายถึง ความรู้ในอริยสัจ 4
สัมมาสังกัปปะ
(ความคิดที่ถูกต้อง) หมายถึง ความคิดในการออกจากกาม ความไม่พยาบาท และการไม่เบียดเบียน
สัมมาวาจา
(วาจาที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากการพูดเท็จ หยาบคาย ส่อเสียด และเพ้อเจ้อ
สัมมากัมมันตะ
(การปฏิบัติที่ถูกต้อง) หมายถึง เจตนาละเว้นจากการฆ่า โจรกรรม และการประพฤติผิดในกาม
สัมมาอาชีวะ
(การหาเลี้ยงชีพที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากมิจฉาชีพ การละเว้นจากอาชีพฆ่าสัตว์ อาชีพที่เบียดเบียนผู้อื่น
สัมมาวายามะ
(ความเพียรที่ถูกต้อง) หมายถึง สัมมัปปธาน 4 คือ ความพยายามป้องกันอกุศลที่ยังไม่เกิด ละอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ทำกุศลที่ยังไม่เกิด และดำรงรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว
สัมมาสติ
(การมีสติที่ถูกต้อง) หมายถึง สติปัฏฐาน 4
สัมมาสมาธิ
(การมีสมาธิที่ถูกต้อง) หมายถึง ฌาน 4
ชั้นกลาง
กายกรรม 3
การทำลายชีวิต
เอาของผู้อื่นมาเป็นของตน
ประพฤติผิดในกาม
วจีกรรม 4
พูดเท็จ
พูดส่อเสียด
พูดคำหยาบ
พูดเพ้อเจ้อ
มโนกรรม 3
1.ไม่โลภอยากได้ของเขา
2.ไม่พยาบาทปองร้ายเขา
3.เห็นชอบตามคลองธรรม
พื้นฐาน
ศีล 5
ข้อที่ 1
: ตั้งใจงดเว้นจากการฆ่าสัตว์
ข้อที่ 2
ตั้งใจงดเว้นจากการลักขโมย
ข้อที่ 3
: ตั้งใจงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ข้อที่ 4
: ตั้งใจงดเว้นจากการพูดเท็จ พูดคำหยาบ คำส่อเสียด เพ้อเจ้อ
ข้อที่ 5
: ตั้งใจงดเว้นจากดื่มสุรา
ธรรม 5
1. เมตตากรุณา
คือ บุคคลใดที่มีเมตตาย่อมไม่ฆ่า หรือเบียดเบียนสัตว์ ด้วยรู้ดีว่าทุกชีวิตย่อมมี ความรักตัวกลัวตายเช่นเดียวกับเรา ทำให้ไม่ผิดศีลในข้อที่ 1
2. สัมมาอาชีพ
คือ ประกอบอาชีพที่สุจริต มีรายได้ รู้จักใช้จ่าย และที่สำคัญรู้จักคำว่าพอดี และมีหิริโอตตัปปะ คือ ความละอาย และเกรงกลัวต่อผลของบาป จึงทำให้ไม่ผิดศีลข้อที่ 2
3. ความสำรวมอินทรีย์
คือ ระมัดระวัง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ทำให้ ความใคร่ในกามคุณ คือ การติดในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ลดน้อยลง เมื่อความสำรวมเกิดขึ้น จึงทำให้ไม่ผิดศีลข้อที่ 3
4. ความซื่อสัตย์
คือ การพูดความจริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่เกิดการมุสาวาท ทำให้ไม่ผิดศีลข้อที่ 4
5. สติ
คือ การรู้สึกตัว ซึ่งเป็นหัวหน้าฝ่ายกุศล ทำให้ชีวิตไม่ประมาท เพราะรู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว ทำให้ไม่เกลือกกลั้วกับสิ่งที่จะทำให้ชีวิตตกต่ำ เช่น สุราเมื่อคนดื่มกินก็ทำให้มึนเมาและขาดสติ การมีสติจึงทำให้ไม่ผิดศีลข้อที่ 5
หลักศาสนาที่นำมาใช้ในวิชาชีพการพยาบาล
พรหมวิหาร 4
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
อิทธิบาท 4
ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
อริยสัจ 4
ทุกข์ สมุทัย มรรค นิโรธ
ศาสนาคริสต์
พระเยซู เป็นต้นกำเนิดของสรรพสิ่ง สวดมนต์เพื่อแสดงความภัคดีต่อพระเจ้า และเข้าโบสถ์ทุกวันอาทิตย์
"จงรักพระเจ้าและรักเพื่อนมนุษย์ทั้งหลายเหมือนรักตัวเอง"
ศาสนาอิสลาม
หลักวินัยปฏิบัติ
ได้แก่ การกล่าวคำปฏิญาณ การนมาซ 5 เวลา การบริจาก การถือศีลอด
หลักศรัทธา
ศรัทธาในอัลลอฮ คัมถีร์ โลกอื่น ศาสดา วันสุดท้าย กฏ
หลักคุณธรรม
อันเป็นหลักการที่เกี่ยวข้อง กับมารยาท และคุณทางด้านจิตใจ ตลอดจนความประพฤติอันดีงาม ซึ่งเรียกรวมว่า "อิหฺซาน"
ศาสนาสิกข์
5 Ks
เกศ หรือ เกศา (Kesh)
- ผมที่ไม่ถูกตัด
กังฆา หรือ กังค่า (Kangha)
- หวีไม้สำหรับหวีผม
กรา หรือ การ่า (Kara)
- กำไลโลหะ
กฉา หรือ กาแชร่า (Kachera)
- กางเกงขาสั้นทำจากฝ้าย 100% ใส่เป็นกางเกงชั้นใน
กิรปาน (Kirpan)
- ดาบสั้นหรือมีดสั้น ไว้ป้องกันตนเอง
การนำศาสนามาใช้ในการพยาบาล
ประการแรก
: รูปแบบศาสนา
ศาสนาพุทธ
: เหตุผล (Argumentative model)
ศาสนาคริสต์
: การชี้นำ (Suggestive model) ความเชื่อ ความรัก ความศรัทธา
ศาสนาอิสลาม
: กฏหมาย (Legislative model) หลักนิติธรรมทางกฏหมาย
ประการ 2
: หลักศีลธรรม เป็นแม่แบบ
ใช้จริยธรรมแต่ละศาสนาเป็นเกณฑ์ตัดสินจริยธรรม จะทำให้พยาบาลสามารถปลอบใจผู้ป่วยแต่ละคนตามความเชื่อได้
:pen:
B6129767 นางสาวรินลณี วงศ์ศรีทา
:pen: