Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค - Coggle Diagram
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การสร้างภูมิคุ้มกันโรค หมายถึง
การทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคหรือทำให้โรคมีความรุนแรงน้อยลง
มี2วิธีคือ
ทางตรง เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นเองโดยการให้แอนติเจนหรือวัคซีนเข้าไปในร่างกาย
ทางอ้อม เป็นสารที่มีภูมิคุ้มกันโรคอยู่แล้วมีผลป้องกันได้ทันทีที่เข้าไปในร่างกาย
ทำไหมต้องมีการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีน
ป้องกันการเกิดโรค เมื่อสัมผัสกับเชื้อโรคนั้นๆ
ถ้าเกิดเป็นโรคนั้น จะทำให้ความรุนแรงน้อยลง
เป็นการควบคุมโรคที่สามารถป้องกันได้โดยวัคซีน เช่น ไข้ทรพิษหมดจากโรค เมื่อปี พ.ศ. 2522
ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
วัคซีน คือ แอนติเจนที่ผลิตมาจากเชื้อโรคหรือพิษของเชื้อโรคที่ถูกทำให้ไม่สามารถก่อโรคในคนได้ เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรค
วัคซีน แบ่งออกเป็น3ประเภท
ท็อกซอยด์(Toxoid) นำพิษของแบคทีเรียมาทำให้หมดฤทธิ์แต่ยังกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้โดยทั่วไปจะมีไข้หรือปฎิบัติกิริยาเฉพาะที่เล็กน้อยบริเวณที่ฉีดอาจบวม แดง และมีไข้ได้
วัคซีนเชื้อตาย(Inactivatedvaccine) ใช้เชื้อโรคทั้งตัวที่ตายแล้ว ทำให้อ่อนฤทธิ์ลงจนไม่สามารถทำให้เกิดโรคแต่ยังกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้
วัคซีนเชื้อเป็น(Liveattenuatedvaccine) เป็นวัคซีนที่ทำจากเชื้อที่มีชีวิตอยู่ ถูกทำให้อ่อนฤทธิ์ลง แต่ยังสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้
ชนิดของวัคซีน
ท็อกซอยด์
คอตีบ
บาดทะยัก
วัคซีนเชื้อตาย
ไอกรน
IPV
ไข้สมองอักเสบJE
โรคพิษสุนัขบ้า
ตับอักเสบเอ
ตับอักเสบบี
ไข้หวัดใหญ่
ฮิบ
วัคซีนเชื้อเป็น
OPV
หัด คางทูม หัด
เยอรมัน
วัณโรค
อีสุกอีใส
วัณโรค
สาเหตุ
แบคทีเรีย Mycbacyeriumtuberculosis
อาการและการแสดง
ไอเรื้อรังนานเกิน 3 สัปดาห์ ไอมีเสมหะและอาจมีเลือดปน เบื่ออาหาร นำ้หนักลด มีไข้ตํ่าๆ ตอนบ่ายเหงื่อออกกลางคืน
การติดต่อ
การหายใจรับเชื้อ ละอองฝอยขนาดเล็ก ที่ผู้ป่วย ไอ จาม หรือพูดเข้าร่างกาย
วัคซีนป้องกันวัณโรค
วัคซีนบีซีจี BCG แบคทีเรียเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
ข้อควรระวัง/ข้อห้ามฉีดBCG
หญิงตั้งครรภ์
ผู้ที่เจ็บป่วยเฉียบหลัน
มีแผลติดเชื้อ หรือ แผลไฟไหม้บริเวณที่จะฉีด
การเก็บวัคซีน
วัคซีนที่ยังไม่ผสม ควรเก็บไว้ที่อุณหภูมิ+2ถึง+8C
ไม่ควรให้ถูกแสง เพราะจะทำให้เสื่อม สภาพเร็ว
BCG ของ QSMI ผสมแล้วควรใช้ให้หมด ภายใน2 ชั่วโมง
โรคตับอักเสบบี
สาเหตุ
เชื้อไวรัส Hepatitis B virus
อาการและอาการแสดง
แบบเฉียบพลัน อ่อนเพลีย มีไข้ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดใต้ ชายโครงขาว ปัสสาวะสีเข้ม ตาเหลือ ตัวเหลือ
แบบเรื้อรัง อาการไม่ชัดเจน มีภาวะตับอักเสบเฉียบพลัน เกิดภาวะตับแข็ง ตัวบวม ตัวเหลือ ตาเหลือ เลือดออกง่าย
การติดต่อ
สัมผัสกับเลือด หรือสารคัดหลั่งของผู้ป่วย
มีเพศสัมพันธ์กับคนที่มีเชื้อ
จากมารดาที่เป็นผู้ติดเชื้อ แพร่เชื้อให้ลูกระหว่างคลอด
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
เป็นไวรัสเชื้อตา
การเก็บวัคซีน
ควรเก็บไว้ที่อุณหภูมิ+2ถึง+8C และเปิดใช้แล้วควรเก็บไว้ไม่เกิน8 ชั้วโมง
คอตีบ
สาเหตุ
เชื้อแบคเรีย Corynebacteriumdiphtheriae
อาการและอาการแสดง
ระยะแรก มีอาการคล้ายหวัด มีไข้ตํ่าๆ ไอเสียงก้อง พบแผ่น เยื่อสีขาวบริเวณทอนซิลและลิ้นไก่หายใจลำบาก
รายที่รุนแรง เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจส่วนบนกล้ามเนื้อหัวใจและปลายประสาทอักเสบอาจเสียชีวิตได้
การติดต่อ
รับเชื้อจากละอองเสมหะ นำ้มูก นำ้ลายของผู็ป่วย ทางการหายใจ ไอ จามรดกัน ใช้ภาชนะ
ไอกรน
สาเหตุ
เชื้อแบคเรีย Bordetellapertussis
อาการและอาการแสดง
1-2 สัปดาห์แรกมีอาการคล้ายหวัด ต่อมามีไอกรน คือ ไอถี่ๆ ติดต่อกันเป็นชุดๆ
การติอต่อ
จากการ ไอ จามรดกัน โดยตรง(Dropletstransmission)
จากการรับเชื้อที่อยู่ในละอองเสมหะ นำ้มูก นำ้ลายของผู้ป่วย(Airborne transmission
บาดทะยัก
สาเหตุ
แบคเรียClostridium tetani
อาการและอาการแสดง
ในทารกแรกเกิดเด็กดูดนม ลำบาก หน้าแบบยิ้มแสยะ ร้องคราง แขน ขาเกร็ง หลังแข็งและแอ่น ร้องเสียงดัง มีอาการชักกระตุก หยุดหายใจ หน้าเขียว
ในเด็กโตหรือผู้ใหญ่ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ได้ คอแข็งมีอาการหลัง แขน ขา เกร็ง กระตุกหยุดหายใจและเสียชีวิตได้
การติดต่อ
ทารกมักติดเชื้อทางสายสะดือที่ตัดด้วยกรรไกรหรือที่ไม่สะอาดและการพอกสะดือด้วยยากลางบ้าง โรยแป้งโดยเฉพาะกรณีที่แม่ไม่ได้รับวัคซีนป้องกัน บาดทะยักก่อนคลอด
บุคคลทั่วไป ได้รับเชื้อ บาดทะยักผ่านทางบาดแผลที่ผิงหนัง เช่น ถูกของมีคมสกปรกบาดทำให้เกิดแผลลึกโดยเฉพาะตะปู
วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (DTwP-HB)
ท็อกซอยด์ แบคเรียและ ไวรัสเชื้อตาย
ข้อควรระวัง/ข้อห้าม
ไม่ให้เด็กอายุมากกว่า7ปีและผู้ใหญ่
ไม่ควรฉีดในเด็กที่กำลัง ป่วยเฉียบพลัน หรือกำลังมีไข้สูง
ไม่ควรฉีดDTP-HB ในผู้ป่วยที่มีโรคทางสมอง เพราะวัคซีน ไอกรน อาจไป กระตุ้นออาการสมองให้เลวลง
การเก็บวัคซีน
ควรเก็บไว้ที่อุณหภูมิ+2ถึง+8C
เปิดใช้แล้วควรเก็บไว้ไม่เกิน8 ชั่วโมง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบฮิบ
สาเหตุ
แบคเรีย HaemophilusInfluenzae Type B เป็นโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดรุนแรง
อาการ
มีอาการ เป็นไข้ หงุดหงิด งอแง ปวดศ๊รษะ ชัก คอแข็ง กระหม่อมโป่ง ในเด็กเล็กมีอันตรายถึงชีวิต
การติดต่อ
เข้าสู่ร่างกายได้จากการสูดดมละอองที่มาจากการไอและจาม
วัคซีนป้องกันคอตีบบาดทะยักไอกรน ตับอักเสบบีฮิบ
ท็อกซอยด์ แบคเรียและไวรัสเชื้อตาย
ข้อควรระวัง/ข้อห้าม
ไม่ให้ในเด็กอายุมากกว่า7ปีและผู้ใหญ่
ไม่ควรฉีดในเด็กที่กำลัง ป่วยเฉียบพลัน หรือกำลังมีไข้สูง
การเก็บวัคซีน
ควรเก็บไว้ที่อุณหภูมิ+2ถึง+8ํ ํC
เปิดแล้วควรเก็บไว้ไม่เกิน8ชั่วโมง
โปลิโอ
สาเหตุ
เชี้อไว้รัส Poluovirus Type1,2,3
อาการและอาการแสดง
อาการไม่รุนแรง มีไข้ตํ่าๆ เจ็บคอ อาเจียน ปวดท้อง เบื่ออาหาร และอ่อนเพลีย
อาการรุนแรง ไข้ เจ็บคอ คอแข็ง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ
อาการรุนแรงมาก มีอัมพาตแขนขา ปวดกล้ามเนื้อเกร็ง
การติดต่อ
จากการรับเชื้อที่ปนเปื้อนมากับอุจจาระของผู้ป่วยเข้าทางปาก
ข้อห้าม
ในหญิงมีครรภ์ ถ้าจำเป็น ให้ใช้IPVได้
ไม่ควรใช้วัคซีนIPV ในผู้ที่มีประวัติแพ้รุนแรง
การเก็บวัคซีน
ควรเก็บไว้ที่อุณภูมิ+2ถึง+8C
เปิดใช้แล้วควรเก็บ ไว้ไม่เกิน8ชั่วโมง
โรคอุจจาระร่วง จากไวรัสโรต้า
สาเหตุ
เชื้อไวรัส Rotavirus
อาการและอาการแสดง
พบในเด็กตํ่ากว่า5ปี ท้องเสีย ปวดท้อง ไข้ อาเจียน เกิดภาวะขาดนำ้ ถ่ายเหลวเป็นนำ้อาจมีมูกปน
การติดต่อ
รับเชื้อที่ออกมากับอุจจาระถ่ายทอดไปบุคคลอื่นโดยเข้าทางปาก
การเก็บวัคซีน
ควรเก็บไว้ที่อุณหภูมิ+2ถึง+8C และป้องกันแสง ห้ามเก็บในช่องแช่แข็ง
ข้อควรระวัง/ข้อห้าม
เด็กที่มีอาการอาเจียนหลังได้รับวัคซีน ไม่แนะนำให้วัคซีนซํ็ษ
ควรให้วัคซีนอย่างระมัดระวังในเด็กที่มีโรคทางเดินอาหารเรื้อรัง
หัด
สาเหตุ
เชื้อไวรัส Measles virus
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูง นำ้มูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะ พบจุดขาวๆเล็ก
การติดต่อ
รับเชื้อที่อยู่ในละอองเสมหะ นำ้มูกนำ้ลายของผู้ป่วยผ่านทางการหายใจ
คางทูม
สาเหตุ
เชื้อไวรัส Mumps virus
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ปวดต่อมนำ้ลายหน้าหู ใต้ขากรรไกร บวมโต
โรคแทรกซ้อนที่สำคัญ ได้แ่ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ หูหนวก เส้นประสาทหูอักเสบ
การติดต่อ
หายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อและรับนำ้ลายของผู้ป่วยที่ ไอหรือจามออกมา
สัมผัสกับนำ้ลายของ ผู้ป่วย เช่น การใช้ภาชนะร่วมกัน
หัดเยอรมัน
สาเหตุ
เชื้อไวรัส Rubella virus
อาการและอาการแสดง
มีไข้ตํ่าๆ มีผื่นสีชมพูจางๆ กระจายห่างๆขึ้นตามใบหน้าและกระจายไปทั่ว
การติดต่อ
จากละอองเสมหะ นำมูกนำ้ลายของผู้ป่วย ผ่านทางเดินหายใจ จากการไอ จาม
วัคซีนป้องกันหัดเยอรมัน
ไวรัสเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
ข้อควรระวัง/ข้อห้าม
ไม่ควรฉีดในหญิงมีครรภ์
ไม่ควรฉีดในผู้ป่วยที่ มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การเก็บวัคซีน
วัคซีนMMR ผงแห้ง ควรเก็บไว้ในอุณหภูมิ+2ถึง+8C
ผสมแล้วต้องใช้ ภายใน6 ชั่วโมง
ไข้สมองอักเสบ เจ อี
สาเหตุ
เชื้อไวรัส Japanese B encephalitis virus
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูง ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาจเจียน
การติดต่อ
ยุงรำคาญรับเชื้อจากหมูที่เป็นแหล่งรังโรค ถูกยุงรำคาญที่ติดเชื้อกัด
วัคซีนป้องกันโรค
ไวรัสเชื้อเป็น อ่อนฤทธิ์
ข้อควรระวัง/ข้อห้าม
หญิงตั้งครรภ์
สตรีอยู่ในระหว่างให้นมบุตร
การเก็บวัคซีน
ควรเก็บไว้ในอุณหภูมิ+2ถึง+8C
ผสมแล้วต้องใช้ ภายใน 6ชั่วโมง
มะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี
สาเหตุ
เชื้อไวรัส Hunan papillomavirus:HPV
อาการและอาการแสดง
ในระยะแรก ไม่พบอาการผิดปกติ สามารถตรวจพบได้จากการตรวจคัดกรองมะเร็ง
การติดต่อ
มีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อHPV
จากแม่สู่ลูกขณะคลอด ทำให้เกิดโรคหูดในเด็กทารก เช่น หูด ในกล่องเสียง
วัคซีนป้องกัน
ไวรัสเชื้อตาย สายพันธุ์ 16,18หรือ6,11,16,18
ข้อควรระวัง/ข้อห้าม
ห้ามฉีดในผู้ที่เคยมีอาการแพ้วัคซีน HPV แบบ Severe allergic reaction
หลีกเลี่ยงการฉีดวัคซีนในหญิงตั้งครรภ์
การเก็บวัคซีน
ควรเก็บไว้ในอุณหภูมิ+2ถึง+8C
เปิดแล้วต้องใช้ ภายใน 8 ชั่วโมง
กำหนดการฉีดวัคซีน
วัคซีนทุกชนิดถ้าไม่สามารถเริ่มตามกำหนดได้ ให้เริ่มทันทีที่พบครั้งแรก
สำหรับวัคซีนที่ต้องให้มากกว่า1ครั้ง หากเด็กมารับวัคซีนครั้งต่อไปล่าช้าสามารถให้วัคซีนครั้งต่อได้โดยไม่ต้องเริ่มต้นครั้งที่1ใหม่
การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
การเตรียมสถานที่ให้บริการ
ควรแยกจากคลินิกเด็กป่วย
ควรจัดวางอุปกรณ์ที่จำเป็นเพื่อความสะดวก และรวดเร็วในการปฎิบัติงาน รวมถึงบริเวณที่ล้างมือด้วย
ควรเป็นบริเวณที่เงียบสงบ เป็นส่วนตัว
หน่วยบริการนอกสถานที่
ควรตั้งอยู่ในที่ร่ม ไม่ควรอยู่กลางแจ้งหรือ มีลมหรือฝุ่นพัด ผ่าน จัดมุม ให้บริการเป็นสัดส่วน
มีป้ายบอกจุดบริการที่ชัดเจน เช่น ชั่งนำ้หนัก วัดส่วนสูง ซักประวัติตรวจร่างกาย
ในจุดบริการควรมีโต๊ะวางอุปกรณ์ต่างๆ และวางอุปกรณ์ต่างๆ และวางอุปกรณ์ใช้งานให้อยู่ในบริเวณที่หยิบ จับง่ายและไม่เกิดการปนเปื้อน
การจัดท่าเด็ก
เพื่อลดความเจ็บปวดและความกลัวของผู้รับบริการได้
ป้องกันอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ เช่น เข็มหัก
การจัดท่าเด็กเล็ก ทารก ขวบปีแรก 1-3 ปี
ให้ผู้ปกครองกอดไว้ในท่านั่งโดยจัดให้เด็กนั่งบนตักผู้ปกครองและหลังพิงแขน แล้วแขนผู้ปกครองโอบด้านบนไว้ ส่วนขาของเด็กให้ผู้ปกครองใช้ขาทั้งสองข้างหนีบไว้ และนำมืออีกข้างกดเข่าจะทำให้เด็กอยู่กับที่
การจัดท่าเด็กโตและผู้ใหญ่
เด็กโตจะฉีดที่ต้นแขน ให้นั่งเอาแขนแนบลำตัว จัดสถานที่ให้มิดชิดและให้เข้ามารับวัคซีน ครั้งละคนเพื่อลดความตื่นกลัวและลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุหากเป็นลมล้ม