Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลระยะที่ 1 ของการคลอด
ซักประวัติ
อาการที่มารพ
การเจ็บครรภ์
(Labor pain)
ลักษณะการเจ็บครรภ์
ความถี่
ความรุนแรง
เวลาที่เริ่มเจ็บ
มูก (Show)
น้ำคร่ำเปียกผ้านุ่งกี่ผืน
ถ้ามีน้ำเดินก่อนเจ็บครรภ์นานเท่าใด
มีมูกหรือน้ำเดินเวลาใด
ลักษณะเป็นอย่างไร
สิ่งที่ออกมาลักษณะอย่างไร
มีอะไรออกมาทางช่องคลอดหรือไม่
ประวัติความเจ็บป่วย
การผ่าตัดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
ประวัติการได้รับอุบัติเหตุและโรคของกระดูกเชิงกราน
ประวัติการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
เจ็บป่วยด้วยโรคใดบ้าง
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆ
มีน้ำเดินหรือถุงน้ำแตก
(Rupture of membranes)
ถามว่ามีหรือไม่มี
ถ้ามีเกิดขึ้นเมื่อไร
ลักษณะเป็นอย่างไร
จำนวนเท่าไร
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
โรคหรือความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โรคติดเชื้อต่างๆ
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง
ตกเลือด
ชัก
ประวัติการคลอด
อายุครรภ์ขณะคลอด
ชนิดของการคลอด
ประวัติการแท้งการขูดมดลูก
อาจทำให้รกเกาะแน่นกว่าปกติ
ประวัติของทารก
สุขภาพแรกเกิดและปัจจุบัน
จำนวนบุตรที่มีชีวิตอยู่
ความพิการแต่กาเนิด
น้ำหนักแรกเกิด
เพศ
ข้อมูลส่วนบุคคล
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
อายุครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ลำดับของการตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย
เฉพาะที่
การดู
ขนาดของท้อง
ขนาดใหญ่อาจมีการตั้งครรภ์แฝด หรือ มีภาวะน้ำคร่ำมาก
ลักษณะมดลูก
โตตามยาวหรือตามขวาง
ทารกอยู่ในท่าหัว ท่าก้นหรือท่าขวาง
การเคลื่อนไหวของทารก
ลักษณะทั่วไปของท้อง
ล้ามเนื้อหน้าท้องแยกห่างกัน (diastasis recti)
มีหน้าท้องย้อย (pendulus abdomen)
การคลำ
การคาดคะเนน้ำหนักของทารก (EFW = HF x AC)
ความสูงของยอดมดลูก
ครบกาหนดคลอดควรอยู่ระหว่าง33-37cms
< 32 cms ทารกตัวเล็ก
38 cms ทารกจะตัวโต
ประเมินความสัมพันธ์ของระดับยอดมดลูกกับอายุครรภ์
การฟังเสียงหัวใจทารก
ระยะที่สองของการคลอดควรฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5-10 นาที
ถุงน้ำทูนหัวแตกควรฟังทันที
ทารกมีศีรษะเป็นส่วนนำ
ได้ยินต่ำกว่าระดับสะดือ
ได้ยินชัดเจนทางด้านหลังทารก คือบริเวณสะบักซ้าย
ทารกท่าก้นเป็นส่วนนำ
ได้ยินเหนือระดับสะดือ
อัตราการเต้นของหัวใจปกติ อยู่ระหว่าง 110 - 160 ครั้งต่อนาที
ประเมินFetal distress
อัตราการเต้นของหัวใจทารก เร็วมากกว่า 160 ครั้ง/นาที ช้าน้อยกว่า 110 ครั้ง/นาที
มีขี้เทา (Meconium stained amniotic fluid)
จังหวะไม่สม่าเสมอ
ทั่วไป
รูปร่าง
สูงน้อยกว่า 145 cm
ท่าเดินที่ผิดปกติ
เสี่ยงต่อการคลอดผิดปกติ
เชิงกรานแคบ
ประเมินสภาพของผู้คลอด
สัญญาณชีพ
อัตราชีพจร
ถ้ามากกว่า 90 ครั้งต่อนาที
เบา เร็ว
อาจมีการติดเชื้อขาดน้ำ
อ่อนเพลีย
เหนื่อยล้าหรือตกเลือด
อุณหภูมิ
ถ้าสูงอาจมีการติดเชื้อในร่างกายหรือขาดน้ำ
สูงเกิน 37.5 องศาเซลเซียส
รายงานแพทย์ทราบ
การหายใจ
ควรอยู่ระหว่าง 16-20 ครั้งต่อนาที
ความดันโลหิต
ปกติ 110-120/70-80 mmHg.
น้ำหนัก
พฤติกรรมการแสดงออกถึงความเจ็บปวด
การตรวจภายใน
ความบางของปากมดลูก (Cervical effacement)
ความยาวของปากมดลูก (Cervical canal)
จาก internal os ถึง external os ประมาณ 2 เซนติเมตร
เมื่อมีการยืดขยายเกิดขึ้น ความยาวจะสั้นลง
ความหนาเหลือเพียง 1 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 50%
ความหนาเหลือเพียง0.2-0.3 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 100 %
ความหนาเหลือเพียง 0.5 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 75 %
ตรวจหาส่วนนำ
ระดับของส่วนนำ
Plane
ใช้ส่วนที่กว้างที่สุดของส่วนนาเปรียบเทียบกับระดับของ ischial spines
Mid plane หมายถึง ส่วนนำอยู่พอดีกับระดับของ ischial spines
Low plane หมายถึง ส่วนนาอยู่ต่ากว่าระดับของ ischial spines
High plane หมายถึง ส่วนนำอยู่เหนือระดับของ ischial spines
Station
บอกได้ว่าส่วนนำที่อยู่ต่าสุดของทารกถึงระดับใดแล้ว โดยใช้ ischial spines เป็นหลัก
ตรวจหาท่าของทารก (Position)
รอยต่อแสกกลาง (Sagittal suture)
ถ้าขม่อมหลังอยู่ทางด้านซ้ายของผู้คลอด
กระดูกท้ายทอย (Occiput) อยู่ทางซ้าย
ท่าของทารกคือ Left occiput transverse (LOT)
ขม่อมหลังอยู่ทางด้านขวาของผู้คลอด
คือท่า Right occiput transverse (ROT)
ตรวจดูสภาพของน้าทูนหัว (Bag of fore water )
MI = Membrane Intact (ถุงน้ำยังอยู่)
MR = Membrane Rupture (ถุงน้ำแตกแล้ว)
ML = Membrane Leaked (ถุงน้ำคร่ารั่ว)
SRM = Spontaneous Rupture of Membrane (ถุงน้ำแตกเอง)
ARM = Artificial Rupture of Membrane (ได้รับการเจาะถุงน้ำ)
การคาดคะเนเวลาการคลอด
ในช่วงระยะปากมดลูกเปิดเร็ว (Active phase.)
ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยาย 1 cm./hr. (1.2 cm./hr.)
ครรภ์หลังปากมดลูกเปิดขยาย 1.5 cm./hr.
ในใบPartograph จะคิดชั่วโมงละ 1 cm.
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจปัสสาวะ
หาโปรตีนและน้าตาลในปัสสาวะ
ประเมินภาวะความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์และภาวะเบาหวาน
การตรวจเลือดในผู้คลอดที่ไม่เคยฝากครรภ์
ต้องได้รับการเจาะเลือดเพื่อดู
VDRL
Anti HIV
Hematocrit
Hemoglobin
HBsAg
การเตรียมผู้คลอด
ด้านร่างกาย
การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก และฝีเย็บ
การสวนอุจจาระ
การทำความสะอาดร่างกาย
จัดให้พักผ่อนในห้องรอคลอดและดูแลอย่างใกล้ชิด
ด้านจิตใจ
อธิบายเกี่ยวกับการรับไว้เพื่อรอคลอด
เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์
ประเมินทางด้านจิตสังคม
ระยะ Active phase
สิ่งกระตุ้นความเครียดมากขึ้น เจ็บครรภ์มากขึ้น เหนื่อย อ่อนเพลีย
พฤติกรรมเหมาะสม : พูดคุยน้อยลง กิจกรรมลดลง กระสับกระส่าย บ่น พึ่งพาผู้อื่น
พฤติกรรมไม่เหมาะสม : ก้าวร้าว ร้องครวญคราง กลัว ซึมเศร้า แยกตัว ถดถอยหรือปฏิเสธ
ระยะ Transitional phase
พฤติกรรมการแสดงออก : แยกตัวเอง ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม อาจก้าวร้าว ไม่ให้ความร่วมมือ
พฤติกรรมไม่เหมาะสม : ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมตนเองได้ ไม่ตอบสนองใดๆ เรียกร้องจะยุติการตั้งครรภ์ เอะอะโวยวาย
วิตกกังวลสูง เจ็บปวดและเครียดมากที่สุด ทุรนทุรายและเหนื่อยอ่อน
ระยะ Latent phase
พฤติกรรมเหมาะสม : พูดคุย ซักถาม ยิ้ม หัวเราะ ร้องไห้เงียบๆ ทากิจกรรมด้วยตนเอง
พฤติกรรมไม่เหมาะสม : ก้าวร้าว โกรธ ไม่พอใจ ซึมเศร้า แยกตัว ไม่เป็นมิตร
เครียดน้อย เจ็บครรภ์น้อย จะรับรู้ เรียนรู้และแก้ปัญหาได้มาก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
การเต้นของหัวใจทารก
ฟังภายหลังมดลูกคลายตัวประมาณ 20 – 30 วินาที
ควรฟังเสียงหัวใจทารกให้เต็ม 1 นาที
ผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ในระยะ latent ควรฟังทุก 30 นาที
ระยะ active ควรฟังทุก 15 นาที
ผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยงต่ำ
ระยะ latent ควรฟังทุก 1 ชั่วโมง
ระยะ active ควรฟังทุก 30 นาที
ผู้คลอดที่ถุงน้ำคร่ำแตก
ฟังเสียงหัวใจทารกทันที
หลังจากนั้นฟังทุก 5 – 10 นาที
ลักษณะน้ำคร่ำ
ปกติ
เมื่ออายุครรภ์ไม่ครบกำหนดน้ำคร่ำมีลักษณะ
ใส
สีเหลืองจางๆ คล้ายสีฟางข้าว
ใกล้ครบกาหนดคลอด
ขุ่นคล้ายน้ามะพร้าว
ถุงน้ำคร่ำแตกมีขี้เทาปน
น้ำคร่ำมีสีเขียวหรือสีเหลืองน้ำตาลและข้น
ภาวะทารกขาดอากาศหายใจ (fetal distress)
C = clear liqour draining (น้ำคร่ำใสปกติ)
M = meconium stained liqour draining (น้ำคร่ำมีขี้เทาปน)
A = absent ถุงน้ำแตกแต่ตรวจภายในไม่พบน้ำคร่ำ
B = blood stained (น้ำคร่ำปนเลือด)
ความรุนแรง
Mild meconium stained คือ น้ำคร่ำมีสีเหลืองหรือเขียวจางๆ
Moderate meconium stained คือ น้ำคร่ำมีสีเขียวปนเหลือง
Thick meconium stained คือ น้ำคร่ำมีสีเขียวข้นมาก
การดิ้นของทารกในครรภ์
เคลื่อนไหวอย่างน้อย 10 ครั้งในช่วงระยะเวลา 12 ชั่วโมง
การวิเคราะห์เลือดของทารกในครรภ์ (fetal blood analysis)
เลือดของทารกในครรภ์จะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 7.20 – 7.45
ต่ำกว่า 7.20 ถือว่าทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด (acidosis)
รีบช่วยเหลือแก้ไขและช่วยให้การคลอดสิ้นสุดลงโดยเร็ว
การเปิดขยายและความบางของปากมดลูก
ปากมดลูกเปิดหมดคือ 10 เซนติเมตร และบางหมด 100%
ครรภ์หลัง descent > 2 ซม./ชม.
Sagittal sutureของศีรษะทารกหมุนมาอยู่ในแนวA-P diameter
ครรภ์แรก descent > 1 ซม./ชม.
การหดรัดตัวของมดลูก
Latent phase
Interval 10 – 15 นาที
Intensity mild ( + )
Duration 15 – 20 วินาที
Cx. dilate ไม่เกิน 3 cms.
Active phase
Acceleration phase (active ตอนต้น)
Duration 45 – 60 วินาที
Interval 3 – 5 นาที
Cx. dilate 3 - 9 cms.
Intensity moderate ( + + )
Deceleration phase(active ตอนปลาย)
Duration 60 – 90 วินาที
Interval 2 – 3 นาที
Cx. dilate 9 - 10 cms.
Intensity moderate / strong ( + + + )
ระวัง tetanic contraction เมื่อ duration > 60 วินาที, Interval < 2 นาที
ผิดปกติ
ผู้คลอดจะเจ็บปวดมากจนไม่สามารถสัมผัสหน้าท้องได้
สังเกตหน้าท้องว่ามี Bandl’s ring (pathological retraction) หรือมี bladder full หรือไม่
กล้ามเนื้อมดลูกจะแข็งมาก
กิจกรรมการพยาบาล
ลดสิ่งกระตุ้น/จัดสิ่งแวดล้อม
ให้ข้อมูล/ให้ความรู้
การคลอด
ผล PV
บรรเทาอาการเจ็บครรภ์
ความก้าวหน้าของการคลอด
ประคับประคองทางด้านจิตใจ
สามี/ญาติ ดูแล
พยาบาลอยู่เป็นเพื่อน
เบี่ยงเบนความสนใจ
Music therapy
เปิดเพลงไทยเย็นๆ กล่อมครรภ์ช่วยคลอดบุตรไม่เจ็บท้องมาก
ระยะปากมดลูกเปิด 1-4 ซม. แนะนำให้เดิน พูดคุย หรืออ่านหนังสือ
ระยะปากมดลูกเปิด 4-8 ซม. แนะนำให้จิตใจจดจ่อ นับลมหายใจ
ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 ซม. แนะนำให้หายใจลึกๆ
การถู/นวด/ลูบ
ลูบที่หน้าท้อง (Effleurage)
Nipple massage
เพิ่มสารอาหารและออกซิเจนในบริเวณนั้น
การเปลี่ยนแปลงพลังงาน
การสัมผัส
การกดจุด
นวดฝ่าเท้า เพื่อสลายการอุดตันตามอวัยวะต่างๆ
การเกร็ง- คลายกล้ามเนื้อ
การหายใจ