Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hydrocephalua (ภาวะน้ำคั่งในสมอง)ดาวน์โหลด - Coggle Diagram
Hydrocephalua (ภาวะน้ำคั่งในสมอง)
สาเหตุ
- ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง ( Communicating
Hydrocephalus )
- เกิดขึ้นหลังคลอด (acquired hydrocephalus)
ในทารก เกิดก่อนกำหนดที่มีการติดเชื้อเช่นเยื่อหุ้มสมองอักเสบหรือมีภาวะ Subarachnoid hemorrhage ภาวะ myelome ningocele
ในเด็กโต ส่วนใหญ่เกิดจากมีภาวะแทรกซ้อนของเยื่อหุ้มสมองอักเสบเนื้องอกหรือเลือดออกในสมอง
1.ความผิดปกติแต่กำเนิด (congenital hydrocephalus) เป็นความผิดปกติของระบบประสาทแต่กำเนิดเช่น congenital arachnoid cysts, congenital tumors
- การสร้างมากผิดปกติ เช่น มีเนื้องอกที่ Choroid plexus
ที่ทำหน้าที่สร้างน้ำไขสันหลัง ทำให้เกิดการสร้างมากผิดปกติ
- การอุดตันทางผ\านของน้ำไขสันหลัง ( Obstructive hydrocephalusหรือ Non - communicating hydrocephalus ) จากการมีเนื้องอก การเกิดภาวะเลือดออกในสมอง จึงทำใหOเกิดการอุดตัน
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- มีโอกาสเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูง ( IncreaseIntracranial Pressure : IICP )
- ดูแลให้ได้รับยา Diamox ตามแผนการรักษา และติดตามอาการข้างเคียงของยา
- ดูแลให้เด็กได้รับการเจาะหลัง ตามแผนการรักษา
- จัดท่านอน ให้นอนหงาย ศีรษะสูง 30 ℃
- ประเมินอาการ และอาการแสดงของภาวะ IICP เช่น ซึมลง ไม่ดูดนม RR , HR ช้าลง BP สูง , Pulse pressure กว้าง
- ประเมินเส้นรอบศีรษะ ( Occipital frontal circumference ) วัดรอบศีรษะ ทุกวัน ๆ ละ 1 ครั้ง ประเมินอาการโปร่งพองของกระหม่อมหน้า
- ดูแลให้ได้รับอาหาร นม หรือน้ำอย่างเพียงพอ โดยให้ช้าๆ เพื่อป้องกันการสำลัก
- ดูแลให้เด็กนอนหลับพักผ่อน
- ดูแลทางด้านจิตใจของบิดามารดา ให้ความรู้แก่บิดามารดาหรือผู้ดูแล ให้สามารถดูแลบุตรได้ถูกต้อง ส่งเสริมให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก
- มีโอกาสปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำ ตามแผนการรักษา
- ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด ตามแผนการรักษา
- จัดท่านอนราบ ไม่ให้ทับด้านที่ทำผ่าตัด
ถ้านอนศีรษะสูงทันที จะทำให้ CSF ไหลลงช่องท้องเร็วเกินไป
- ประเมินสัญญาณชีพ และติดตามอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
-
-
-
- ประเมินอาการทางระบบประสาท เช่น ระดับ Conscious
Pupil size , Pupil reaction to right
- Observe อาการเลือดออกที่ใต้เยื่อหุ้มสมอง Subduralhematoma ( เป็นอาการแทรกซ่อน ในระยะ 1 - 3 วันแรก หลังผ่าตัด )
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
-
-
-
4.เปิดโอกาสให้ครอบครัวได้ระบายความรู้สึกถามข้อสงสัยและพูดคุยถึงปัญหา และความวิตกกังวลของตน เพื่อประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
5.อธิบายเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วยของผู้ป่วยและการดูแลให้ผู้ป่วยได้รับขณะอยู่โรงพยาบาล ให้ข้อมูลแก่บิดามารดาตามความต้องการเพื่อให้คลายความวิตกกังวลและให้มีส่วนร่วมในการรักษาพยาบาล
-
การรักษา
-
2.การให้ยา
-
-
3,สเตียรอยด์มักได้ผลดีในภาวะสมองบวมจาก vasogenic edema ยาที่ใช้บ่อยคือ Dexamethasone
4.การให้ยากันชักเพื่อป้องกันการชักเนื่องจากการชักจะเพิ่มเมตาบอลิซึมของสมองเลือดจะไหลเวียนสู่สมองมากขึ้นยาที่ใช้บ่อยคือ Phenobarbital
3.การผ่าตัด
-
2.การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย (external ventricular drainage,EVD,ventriculostomy)
-
อาการและอาการแสดง
-
ไม่รุนแรง
ศีรษะโตกว่าปกติเล็กน้อย ต้องติดตามดูเส้นรอบศีรษะเป็นระยะ ๆ
ตรวจกระหม่อมหน่า ในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปี
-
- สำรอกนม ดูดนมได้ไม่ดี ทำให้เลี้ยงไม่โต
- เกร็งที่ขาทั้ง 2 ข้าง มี Reflex ไว มีการสั่นกระตุกที่ข้อเท้า
-
-