Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ - Coggle Diagram
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
อุบัติเหตุในเด็ก
ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในบ้าน
เป็นกลุ่ม ที่สามารถเกิดอันตรายจากอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุในบ้าน
จัดบ้านให้โอกาสเกิดอุบัติเหตุน้อยลง
การดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด
การสอนพี่เลี้ยงเด็กและตัวเด็ก
ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ
ด้านตัวเด็กเอง
ความประมาทเลินเล่อ/รู้เท่าไม่ถึงการของผู้ดูแล
สิ่งแวดล้อม /ด้านกายภาพ/ด้านสังคม
ผลกระทบของการเกิดอุบัติเหตุในเด็ก
ผลกระทบด้านจิตใจ
เด็กได้รับความเจ็บปวดทุกข์ทรมานจากบาดแผล
เด็กเกิดความวิตกกังวล
ผลกระทบระยะยาว
การเจริญเติบโตหยุดชะงัก
เด็กมีพัฒนาการล่าช้า
ผลกระทบด้านร่างกาย
ผลกระทบต่อผิวหนัง
ผลกระทบต่อเส้นเลือด
ผลกระทบต่อเนื้อเยื่อ/กล้ามเนื้อของร่างกาย
การเกิดอุบัติเหตุที่พบบ่อยตามพัฒนาการ
0-2 เดือน ขาดอากาศเมื่อบริเวณที่นอนมีวัสดุนุ่มฟูอุดจมูก
2-6 เดือน ตกจากที่สูง น้ำร้อนลวก สำลัก
6-12 เดือน พลัดตกหกล้ม สำลักอาหาร ได้รับสารพิษจากยาการเคมี
12-18 เดือน พลัดตกหกล้ม สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ
18-24 เดือน อันตรายจากการใช้ถนน ได้รับสารพิษ
24-60 เดือน อุบัติเหตุบนท้องถนน ของมีคม สารพิษ ทุกรูปแบบ
6-10 ปี อุบัติเหตุตามท้องถนน เสี่ยงต่อการบาดเจ็บทุกรูปแบบ
10-13 ปี อุบัติเหตุบนท้องถนน อุบัติเหตุ บาดเจ็บทุกรูปแบบ
13-18 ปี อุบัติเหตุบนท้องถนน อุบัติเหตุทุกรูปแบบ
อุบัติเหตุจากการอุดตันทางเดินหายใจ
อุบัติเหตุจากการนอน(อายุ0-2 เดือน)
ที่นอนนุ่ม อุดกั้นทางเดินหายใจ
มารดาที่หลับลึกนอนทับ
การอุดตันทางเดินหายใจ
อาการ ของเล่น เหรียญ แบตเตอรี่
การขาดอากาศ เช่น การผูกคอ/รัดคอ
ปัญหาที่เกิดขึ้นตามมา
สมองขาดออกซิเจน
เกิดภาวะปอดแฟบ
ทำให้เกิดปอดอักเสบ
สิ่งแปลกปลอมบางชนิด
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การอุดตันทางเดินหายใจ
กรณีเด็กอายุต่ำกว่า1ปี (CHOCKING=สำลัก)
จับเด็กนอนคว่ำบนแขน ให้ศรีษะต่ำลงเล็กน้อย
ใช้ฝ่ามือตบลงตรงกลางหลังของเด็ก ระหว่างกลางของสะบัก2ข้างเร็วๆ5ครั้ง
ถ้าไม่ได้ผล จับทารกนอนหงายบนแขนให้ศรีษะต่ำ แล้วใช้นิ้วชี้กับนิ้วกลางวางบนกระดูกหน้าอกเหนือกระดูกลิ้นปี่แล้วกดอกลงประมาณครึ่งนิ้วถึง1นิ้วเร็วๆ5ครั้ง
การปฐมพยาบาล
ฟกซ้ำ 24 ชั่วโมงแรก ประคบเย็น หลัง24 ชม ให้ประคบอุ่น
เลือดออก/แผลฉีกขาด ห้ามเลือดโดยกดบนแผลด้วยผ้าสะอาด
กระดูกหัก ให้หาวัสดุที่แข็ง เช่นไม้บรรทัด กระแข็ง พันประคองอวัยวะไว้กับวัสดุที่แข็งนั้น
การป้องกันการพลัดตกหกล้มและชนกระแทก
ราวบันไดและระเบียงต้องมีช่องห่างไม่เกิน9 ซม.
หน้าต่างต้องอยู่สูงอย่างน้อย1เมตร
เฟอร์นิเจอร์ ต้องไม่มีมุมคม
ตู้วางของต่างๆต้องวางบนพื้นราบมั่นคง
หมั่นตรวจสอบประตูรั้วบ้าน
ความสูงของเครื่องเล่นสนามต้องไม่สูงเกิน150 ซม.
พื้นสนามเด็กเล่นที่มีเครื่องเล่นสูงที่ต้องปีนป่าย
การเขย่าตัวเด็ก
ห้ามเขย่าตัวเด็ก
สัตว์กัด
แมลง/สัตว์เลี้ยง ล้างแผลด้วยนำสะอาดสบู่15 นาที ใส่ยาฆ่าเชื้อ/ห้ามเลือด
ความร้อนลวกและอันตรายจากไฟฟ้า
น้ำร้อนไฟไหม้ ไอความร้อน
สารเคมี เช่น น้ำกรด
ไฟฟ้าช้อต
เกิดการบสดเจ็บบริเวณผิวหนัง
การจมน้ำ (DROWNING)
รีบนำเด็กออกจากที่เกิดเหตุ ปลุกตบไหล่ทั้งสองข้าง
กดหน้าอกลึก5ซม. ในอัตราเร็ว100-120 ครั้งต่อนาที
ช่วยหายใจจากปากต่อปาก
กดหน้าอก ทำCPR ต่อเนื่อง
โทร1669
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ดันหน้าผากและยกคาง
เปิดเครื่อง เออีดี ถ้าหากมี
ส่งต่่่่อผู้ป่วยเพื่อนำส่งโรงพยาบาล
สารพิษ
ได้รับทางผิวหนัง
ถอดเสิ้อผ้าหรือสิ่งปกคลุมออก
รับประทาน
กระตุ้นให้อาเจียน บริเวณคอ
สารเคมีเข้าตา
ใช้น้ำสะอาดล้างออกให้เร็วและมากที่สุด
การสูดดมเข้าไป
ออกจากบริเวณที่มีสารพิษโดยเร็ว
อุบัติเหตุจราจร
ใช้หมวกนิรภัย
ไม่ให้เด็กถีบสามล้อหรือจักรยาน
ไม่ให้เด็กขับขี่ก่อนอายุ18ปี
อุบัติเหตุจากอาวุธและของมีคม
ไม่ควรเก็บปืนไว้ในบ้าน
ไม่ปล่อยให้เด็กใช้ความรุนแรงต่อกัน
ผู้ดูแลไม่สนับสนุน
สอนให้เด็กปกป้องตนเองจากบุคคลอันตราย
สอนให้เด็กรู้จักบอกเมื่อมีผู้อื่นมากระทำ