Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค - Coggle Diagram
บทที่4การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การสร้างภูมิคุ้มกันโรค
ทางตรง
เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นเองโดยการให้แอนติเจน
ทางอ้อม
เป็นสารที่มีภูมิคุ้มกันโรคอยู่แล้วมีผลป้องกันได้ทันทีที่เข้าไปในร่างกาย
จะอยู่ในระยะสั้นๆ3-4สัปดาห์จะใช้ในกรณีฉุกเฉินและเร่งด่วน
วัคซีน
วัคซีนเชื้อตาย
ไอกรน
IPV
ไข้สมองอักเสบJE
โรคพิษสุนัขบ้า
ตับอักเสบเอ
ตับอักเสบบี
ไข้หวัดใหญ่
ฮิบ
วัคซีนเชื้อเป็น
OPV
หัดคางทูมหัดเยอรมัน
วัณโรค
อีสุกอีใส
ท็อกซอยด์
คอตีบ
บาดทะยัก
โรคที่ป้องกันได้โดยวัคซีนและวัคซีนพื้นฐาน
โปลิโอ
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงไข้เจ็บคอคอแข็งปวดศีรษะปวดกล้ามเนื้อ
อาการรุนแรงมากมีอัมพาตแขนขาปวดกล้ามเนื้อเกร็งโดยพบที่ขามากกว่าแขนและเป็นข้างเดียวเป็นแบบอ่อนปวกเปียก
อาการไม่รุนแรงมีไข้ต่าๆเจ็บคออาเจียนปวดท้องเบื่ออาหารและอ่อนเพลียหายเองใน3-4วัน
การติดต่อ
จากการรับเชื้อที่ปนเปื้อนมากับอุจจาระของผู้ป่วยเข้าทางปาก
โรต้า
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่พบในเด็กต่ำกว่า5ปีท้องเสียปวดท้องไข้อาเจียนเกิดภาวะขาดน้ำถ่ายเหลวเป็นน้ำอาจมีมูกปนอุจจาระมีกลิ่นเปรี้ยวถ้ามีท้องร่วงรุนแรงอาจมีภาวะขาดน้ำจนเกิดภาวะช็อคและเสียชีวิต
การติดต่อ
รับเชื้อที่ออกมากับอุจจาระถ่ายทอดไปบุคคลอื่นโดยเข้าทางปาก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบฮิบ
อาการ
มีอาการเป็นไข้หงุดหงิดงอแงปวดศีรษะชักคอแข็งกระหม่อมโป่งในเด็กเล็กมีอันตรายถึงชีวิตได้
เด็กรอดชีวิตบางรายอาจจะมีอาการชักเรื้อรังหูหนวกตาบอดอัมพาตปัญญาอ่อน
การติดต่อ
เข้าสู่ร่างกายได้จากการสูดดมละอองที่มาจากการไอและจามหรือสัมผัสกับสารคัดหลั่งของผู้ที่ติดเชื้อหรือเป็นพาหะนำโรค
หัด
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงน้ำมูกไหลไอตาแดงตาแฉะพบจุดขาวๆเล็กๆที่เยื่อบุในช่องปากหรือกระพุ้งแก้มใกล้ฟันกรามล่างต่อมา3-7วันจะมีผื่่นขึ้นนูนแดงที่หน้าแล้วแผ่กระจายไปตามลาตัวแขนขาทั่วตัว
การติดต่อ
รับเชื้อที่อยู่ในละอองเสมหะน้ำมูกน้ำลายของผู้ป่วยผ่านทางการหายใจ หรือการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยโดยตรง
บาดทะยัก
อาการและอาการแสดง
ในทารกแรกเกิดเด็กดูดนมลำบากหน้าแบบยิ้มแสยะร้องครางแขนขาเกร็งหลังแข็งและแอ่นร้องเสียงดังหรือจับต้องตัวและจะมีอาการชักกระตุกหยุดหายใจหน้าเขียว
ในเด็กโตหรือผู้ใหญ่ขากรรไกรแข็งอ้าปากไม่ได้คอแข็งมีอาการหลังแขนขาเกร็งกระตุกหยุดหายใจและเสียชีวิตได้
การติดต่อ
ทารกมักติดเชื้อทางสายสะดือที่ตัดด้วยกรรไกรหรือที่ไม่สะอาดละการพอกสะดือด้วยยากลางบ้านโรยแป้งโดยเฉพาะกรณีที่แม่ไม่ได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักก่อนคลอด
บุคคลทั่วไปได้รับเชื้อบาดทะยักผ่านทางบาดแผลที่ผิวหนังเช่นถูกของมีคมสกปรกบาด
คางทูม
อาการและอาการแสดง
มีไข้ปวดต่อมน้ำลายหน้าหูใต้ขากรรไกรบวมโตมักเป็นข้างใดข้างหนึ่งมีปวดในหูขณะเคี้ยวหรือกลืนอาหาร
โรคแทรกซ้อนที่สำคัญได้แก่เยื่อหุ้มสมองอักเสบสมองอักเสบหูหนวกเส้นประสาทหูอักเสบ
การติดต่อ
หายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อและรับเชื้อน้าลายของผู้ป่วยที่ไอหรือจามออกมา
สัมผัสกับน้ำลายของผู้ป่วยเช่นการใช้ภาชนะร่วมกัน
ไอกรน
อาการและอาการแสดง
1-2สัปดาห์แรกมีอาการคล้ายหวัดต่อมามีไอกรนคือไอถี่ๆติดต่อกันเป็นชุดๆหายใจลึกมีเสียงดังเสียงวู๊ปไอมากจนเด็กหน้าเขียวหายใจไม่ทันอาจเสียชีวิตได้โดยเฉพาะในเด็กเล็กอายุต่ากว่า6เดือน
การติดต่อ
จากการไอจามรดกันโดยตรง
จากการรับเชื้อที่อยู่ในละอองเสมหะน้ำมูกน้ำลายของผู้ป่วย
หัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำๆมีผื่นสีชมพูจางๆกระจายห่างๆขึ้นตามใบหน้าและกระจายไปทั่วต่อมน้าเหลืองที่หลังหูท้ายทอยและด้านหลังของลำคอโต
ทารกที่ติดเชื้อจากมารดาในระหว่างตั้งครรภ์จะทาให้ทารกที่คลอดออกมามีความพิการทางหูตาหัวใจและสมอง
การติดต่อ
จากละอองเสมหะน้ำมูกน้ำลายของผู้ป่วยผ่านทางการหายใจจากการไอจาม
คอตีบ
อาการและอาการแสดง
ระยะแรก:มีอาการคล้ายหวัดมีไข้ต่าๆไอเสียงก้องพบแผ่นเยื่อสีขาวบริเวณทอนซิลและลิ้นไก่หายใจลาบาก
รายที่รุนแรง:เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจส่วนบนกล้ามเนื้อหัวใจและปลายประสาทอักเสบอาจเสียชีวิตได้
การติดต่อ
รับเชื้อจากละอองเสมหะน้ำมูกน้ำลายของผู้ป่วยจากทางการหายใจไอจามรดกันใช้ภาชนะหรือการดูดอมของเล่นในเด็กเล็ก
ไข้สมองอักเสบเจอี
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงปวดเมื่อยอ่อนเพลียปวดศีรษะคลื่นไส้อาเจียนมีการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัวซึมคอแข็งหลังแข็งชักเกร็งชักกระตุก
การติดต่อ
ยุงรำคาญรับเชื้อจากหมูที่เป็นแหล่งรังโรคถูกยุงรำคาญที่ติดเชื้อกัด
ตับอักเสบบี
อายุที่ได้รับ
เด็กแรกเกิดทุกคนให้ครั้งที่1ภายใน24ชั่วโมงหลังคลอดครั้งต่อๆไป ให้วัคซีนรวมDTP-HB
ปฏิกิริยาหลังรับวัคซีน
ปวดบวมแดงตำแหน่งที่ฉีดมีไข้
มะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี
อาการและอาการแสดง
ในระยะแรกไม่พบอาการผิดปกติสามารถตรวจพบได้จากการตรวจคัดกรองมะเร็งPapsmearหากไม่ได้รับการรักษาเซลล์ผิดปกติจะกลายเป็นมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลาม
อาการที่พบคือมีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดเช่นเลือดออกกะปริบกะปรอยเลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์มีตกขาวปนเลือดเป็นต้นและมีอาการขาบวมปวดหลังก้นกบและต้นขาปัสสาวะหรือถ่ายอุจจาระเป็นเลือดเป็นต้น
การติดต่อ
มีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อHPV
จากแม่สู่ลูกขณะคลอดทำให้เกิดโรคหูดในเด็กทารกเช่นหูดในกล่องเสียง
วัณโรค
อายุที่ได้รับ
ฉีดในเด็กแรกเกิดรวมทั้งทารกที่เกิดจากมารดาติดเชื้อ HIV
ปฏิกิริยาหลังรับวัคซีน
เป็นฝีในชั้นใต้ผิวหนังต่อมน้ำเหลืองโตเฉพาะที่
สรุปหลักการให้วัคซีน
กรณีผู้จะรับวัคซีนมีไข้สูงให้เลื่อนออกไปก่อนหากเจ็บป่วยเล็กน้อยเช่นเป็นหวัดไม่มีไข้สามารถรับวัคซีนได้
หากมีการแพ้วัคซีน/ส่วนประกอบของวัคซีนควรหลีกเลี่ยงการฉีดวัคซีนนั้น
อธิบายให้ผู้ปกครองทราบทุกครั้งเกี่ยวกับชนิดของวัคซีนและอาการข้างเคียงหลังรับวัคซีน
บันทึกลงในสมุดวัคซีนทุกครั้งที่มีการฉีดวัคซีนและให้ผู้ปกครองเก็บสมุดวัคซีนไว้
หญิงตั้งครรภ์ไม่ควรฉีดวัคซีนเชื้อเป็น
ผู้หญิงที่ได้รับวัคซีนเชื้อเป็นให้คุมกาเนิดหลังได้วัคซีน1 ดือน
ทารกที่มีน้ำหนักตัว < 2,000กรัมให้ฉีดวัคซีนตับอักเสบบีเมื่ออายุ 1เดือนและให้ฉีดซ้ำครบ3ครั้ง
การฉีดวัคซีนก่อนกาหนดอาจทาให้ภูมิคุ้มกันต่ำกว่าที่ควรจะเป็น
วัคซีนทุกชนิดหากไม่สามารถให้ตามกำหนดควรเริ่มให้ทันทีที่พบครั้งแรก
วัคซีนที่ให้มากกว่า1ครั้งหากเด็กเคยได้รับมาบ้างแล้วให้ฉีดต่อได้เลยโดยไม่ต้องเริ่มต้นใหม่
หากมีการบันทึกว่าเคยได้รับวัคซีนBCGมาแล้วถึงแม้ไม่มีแผลที่ฉีด ถือว่าเคยได้รับมาแล้ว
การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
หน่วยบริการในสถานที่
3.ควรเป็นบริเวณที่เงียบสงบเป็นส่วนตัว
2.ควรจัดวางอุปกรณ์ที่จำเป็นเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติงาน รวมถึงบริเวณที่ล้างมือด้วย
4.ควรจัดให้ห้องวัคซีนมีทางเข้าออกคนละทางเพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ
1.ควรแยกจากคลินิกเด็กป่วย
หน่วยบริการนอกสถานที่
4.ในจุดบริการควรมีโต๊ะวางอุปกรณ์ต่างๆและวางอุปกรณ์ใช้งานให้อยู่ในบริเวณที่หยิบจับง่ายและไม่เกิดการปนเปื้อน
5.ควรจัดเก้าอี้สาหรับผู้ให้บริการและเก้าอี้ผู้รับบริการสามารถป้องกันอุบัติเหตุได้
3.จัดเตรียมบริเวณทางเข้าและทางออกคนละทางจัดให้มีสถานที่นั่งรอที่สะดวกสะอาด
6.ควรจัดเตรียมเตียงนอนสำหรับเด็กที่มีอาการผิดปกติหลังได้รับวัคซีน
2.มีป้ายบอกจุดบริการที่ชัดเจนเช่นชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงซักประวัติตรวจร่างกายเป็นต้น
7.ควรจัดบริเวณที่ล้างมือหรือเตรียมเจลแอลกอฮอล์ให้เพียงพอ
8.ควรมีการจัดเตรียมวัสดุอุปุกรณ์ให้เพียงพอและการเก็บรักษาวัคซีนต้องให้อยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสมโดยมีกระติกเก็บวัคซีน
1.ควรตั้งอยู่ในที่ร่มไม่ควรอยู่กลางแจ้งหรือมีลมหรือฝุ่นพัดผ่านจัดมุมให้บริการเป็นสัดส่วน
การเตรียมอุปกรณ์สำหรับการให้วัคซีน
สำลีแอลกอฮอล์และสำลีแห้ง
พลาสเตอร์
กระบอกฉีดยาขนาด1และ3มล.
กระติกวัคซีนและฉนวนกันความเย็น
เข็มสำหรับดูดวัคซีนเบอร์ 21 ขึ้นไปและเข็มสาหรับฉีดวัคซีนเบอร์ 25 ขนาด1นิ้วและ26หรือ27ขนาด½ นิ้ว
กล่องสำหรับเก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้ว
ผ้าสะอาดปูบนโต๊ะเพื่อวางวัคซีน
กล่องใส่เข็มที่ใช้แล้วเป็นถังพลาสติกหนา
โต๊ะเก้าอี้
ถังขยะ(ขยะธรรมดา,ขยะติดเชื้อ,กล่องทิ้งขวดวัคซีน)
การจัดท่าเด็ก
เพื่อลดความเจ็บปวดและความกลัวของผู้รับบริการได้
ป้องกันอุบัติเหตุและการบาดเจ็บเช่นเข็มหักเป็นต้น
การให้คำแนะนำในการปฏิบัติภายหลังการรับวัคซีน
1.มีการสังเกตุอาการหลังรับวัคซีน 30นาที
2.มีตุ่มหนอง
มักเกิดจากวัคซีนบีซีจีจะพบตุ่มหนองหลังฉีด2-3สัปดาห์สามารถยุบหายเองได้ไม่ต้องใส่ยาหรือปิดแผล
รักษาบริเวณตุ่มหนองให้สะอาดโดยใช้สำลีชุบน้าต้มสุกที่เย็นแล้วเช็ดผิวหนังบริเวณตุ่มหนองแล้วซับให้แห้ง
ถ้าตุ่มหนองเกิดขึ้นบริเวณกว้างล่ามมารักแร้ต่อมน้าเหลืองโตควรมาพบแพทย์
3.อาการปวดบวมแดงหรือมีก้อนแข็งบริเวณที่ฉีดวัคซีน
ประคบเย็นบริเวณที่ฉีดวัคซีนในวันแรกหลัง 24ชั่วโมงไปแล้วให้ประคบอุ่นเพื่อลดอาการบวมซึ่งจะเป็นประมาณ2-3วัน
ไม่ต้องทายาหรือโรยยาผงชนิดต่างๆในบริเวณที่ฉีดวัคซีน
หากมีอาการปวดมากให้รับประทานยาแก้ปวดพาราเซตามอล
หากเกิดก้อนแข็งบริเวณที่ฉีดวัคซีนให้ประคบอุ่นต่อเนื่องประมาณ 2-3เดือนก้อนแข็งจะยุบลง
4.อาการไข้
ไม่ควรประทานยาลดไข้ป้องกันไว้ก่อนหากมีไข้ควรให้รับประทานยาลดไข้ประเภทพาราเซตามอลร่วมกับการเช็ดตัวลดไข้
หากมีอาการชักให้นำส่งโรงพยาบาลและควรให้ประวัติเกี่ยวกับการได้รับวัคซีนด้วย
พบบ่อยหลังฉีดวัคซีนคอตีบไอกรนบาดทะยักภายใน1-2วันแรกหลังได้รับวัคซีนให้เช็ดตัวลดไข้อาการจะหายไปเองภายใน2-3วัน
วัคซีนรวมหัดหัดเยอรมันคางทูมหลังฉีดไปแล้วประมาณ5-10วันอาจมีไข้
5.อาการชัก
อาจเกิดจากไข้สูงมากเกินไป
เมื่อเกิดชักแล้วให้ปฏิบัติดังนี้
ให้จับเด็กนอนตะแคงหน้าเพื่อไม่ให้ลิ้นไปอุดกั้นทางเดินหายใจและไม่ควรนำสิ่งใดงัดปาก
ควรเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำที่อุณหภูมิห้องเช็ดเน้นตามซอกคอข้อพับต่างๆ
ให้ยาลดไข้และควรพามาโรงพยาบาลทันที
6.มีผื่นขึ้นหลังจากฉีดวัคซีน
ออกผื่นเกิดผื่น5-10วันหลังฉีดหลังจากนั้น1สัปดาห์หายไปเอง
ข้อแนะนำคือให้สวมเสื้อผ้าที่ระบายอากาศได้ดีเพื่อความสบายตัว
หากผื่นขึ้นนานเกิน7วันอาจไม่ใช่สาเหตุจากการฉีดวัคซีนควรไปพบแพทย์ทันที