Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การสร้างเสริมภูมิคุมกันโรค - Coggle Diagram
บทที่ 4 การสร้างเสริมภูมิคุมกันโรค
การสร้างภูมิคุ้มกันโรค
ทางตรง
เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นเอง
ทางอ้อม
เป็นสารที่มีภูมิคุ้มกันโรคอยู่แล้ว
วัคซีน
ถ้าเป็นโรคนั้น จะทำให้เกิดโรคน้อยลง
เป็นการควบคุมที่ป้องกันได้
ป้องกันการเกิดโรค
วัคซีน
ท็อกซอยด์ Toxoid นำพิษแบคทีเรียมาทำให้หมดฤทธิ์
วัคซีนเชื้อตาย inactivated vaccine ใช้เชื้อโรคที่ตายแล้วทำให้ฤทธิ์อ่อนลงจนไม่สามารถทำให้เกิดโรคได้
วัคซีนเชื้อเป็น Live attenuated vaccine เป็นวัคซีนที่มีชีวิตอยู่ มาทำให้ฤทธิ์อ่อนลง
ชนิดของวัคซีน
ท็อกซอยด์
คอตีบ
บาดทะยัก
วัคซีนเชื้อเป็น
วัณโรค
หัด คางทูม
OPV
อีสุกอีใส
วัคซีนเชื้อตาย
ไข้สมองอักเสบ JE
ตับอักเสบเอ
ตับอักเสบบี
ไข้หวัดใหญ่
ไอกรน
โรคที่ป้องกันได้โดยวัคซีน
วัณโรค
การหายใจรับเชื้อละอองฝอย
แบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
ไอเรื้อรังนานเกิน 3 สัปดาห์
วัคซีนป้องกัน
วัคซีน BCG แบคทีเรียเชื้อชนิดอ่อน
ฉีดในเด็กเเรกเกิด ทารกที่เกิดจากมารดา HIV
โรคตับอักเสบบี
กรณีที่มารดาเป็น ผู้ติดเชื้อไวรัสตับ อักเสบบีเรื้อรัง ทารกควรไดร้ับ Hepatitis B Immunoglobulin (HBIG) ร่วมกับวัคซีน ถ้าไม่มี HBIG ควรให้วคัซีน เร็วที่สุดภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
ข้อควรระวัง
มาดาเป็นไวัสตับอักเสบบี ฉีดหลังคลอด 12 ชั่วโมง
ฉีด DTP-HB
เด็กแรกเกิดทุกคน ให้ครั้งที่ 1 ภายใน 24 ชั่วโมง หลังคลอด ครั้งต่อๆ ไป ให ้วคัซีนรวม DTP-HB
คอตีบ (Diphtheria)
มีอาการคล้ายหวัด ไข้ต่ำๆ
เชื้อแบคทีเรีย Corynebacterium diphtheriae
ฉีดวัคซีนป้องกัน DTwP-HB
ไอกรน (Pertussis)
1-2 สัปดาห์แรกมีอาการ คล้ายหวัด ต่อมามีไอกรน
จากการรับเชื้อที่อยู่ในละอองเสมหะ น้ำมูกน้ำลาย ของผู้ป่วย (Airborne transmission)
เชื้อแบคทีเรีย Bordetella pertussis
บาดทะยัก (Tetanus)
ในทารกแรกเกิด เด็กดูดนม ล าบาก หน้าแบบยิ้มแสยะ
ในเด็กโตหรือผู้ใหญ่ ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ได้
เชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani
วัคซีนป้องกนัโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (DTwP-HB)
ท็อกซอยด์ แบคทีเรียและ ไวรัสเชื้อตาย
เด็กทุกคน ครั้งที่ 1 อาย ุ2 เดือน , ครั้งที่ 2 อาย ุ4 เดือน ,ครั้งที่ 3 อาย ุ6 เดือน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบฮิบ (Haemophilus Influenzae Type B)
เด็กรอดชีวิตบางราย อาจจะมีอาการชกั เรื้อรัง หูหนวก ตาบอดอัมพาต ปัญญาอ่อน
วัคซีนคอตีบบาดทะยักไอกรน- ตับอกัเสบบีฮิบ(DTwPHB-Hib)
ท็อกซอยด์ แบคทีเรียและ ไวรัสเชื้อตาย
ขนาดที่ใช ้0.5 มล. ฉีดเข้า กล้ามเนื้อ (IM)
แบคทีเรีย Haemophilus Influenzae Type Bเป็นโรคเยอื่หุม้สมอง อกัเสบชนิดรุนแรง
โปลิโอ (Poliomyelitis)
อาการไม่รุนแรง มีไข้ต่า ๆ เจบ็คอ อาเจียน ปวด ท้อง เบื่ออาหาร และอ่อนเพลีย หายเองใน 3-4 วัน
รับเชื้อที่ปนเปื้อนมากับอุจจาระของผู้ป่วยเข้าทาง ปาก (Fecal-oral route)
โรคอุจจาระร่วง จากไวรัสโรต้า (Rotavirus diarrhea)
เชื้อไวรัส Rotavirus
ส่วนใหญ่พบในเด็กต ่า กว่า 5 ปี ท้องเสีย ปวดท้อง ไข้ อาเจียน เกิดภาวะ ขาดน ้า ถ่ายเหลวเป็นน ้าอาจมีมูกปน
รับเชื้อที่ออกมากับอุจจาระถ่ายทอด ไปบุคคลอื่นโดยเขา้ทางปาก
หัด (Measles)
เชื้อไวรัส Measles virus
มีไข้สูง น ้ามูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะ พบจุดขาวๆ เลก็ๆ ที่เยื่อบุในช่องปาก หรือกระพุ้งแก้มใกล้ฟันกรามล่าง
รับเชื้อที่อยู่ในละอองเสมหะ น ้ามูกน ้าลายของผู้ป่วยผ่านทางการ หายใจ
คางทูม (Mumps)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ หู หนวก เสน้ประสาทหูอกัเสบ
หายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อ และรับเชื้อน ้าลายของผู้ป่วยที่ไอ หรือ จามออก มา
มีไข้ ปวดต่อมน ้าลายหน้าหู ใต้ขากรรไกร บวมโต มักเป็นข้างใดข้างหนึ่ง มีปวดในหู ขณะเคี้ยว หรือกลืนอาหาร
หัดเยอรมัน
มีไข้ต่า ๆ มีผื่นสีชมพูจางๆ กระจายห่างๆขึ้น ตามใบหน้า และกระจายไปทั่ว
เชื้อไวรัส Rubella virus
ไข้สมองอกัเสบ เจอี(Japanese encephalitis)
ไข้สูง ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ คลื่นไส้
เชื้อไวรัส Japanese B encephalitis virus
มะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพวีี (HPV)
เชื้อไวรัส Human papillomavirus: HPV
มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด เช่น เลือดออกกะปริบกะ ปรอย เลือดออกหลงัมีเพศสัมพนัธ์ มีตกขาว ปนเลือด
สรุปหลักการให้วัคซีน
หากมีการแพว้คัซีน/ส่วนประกอบของวัคซีน ควรหลีกเลี่ยงการฉีด วัคซีนนั้น
บันทึกลงในสมุดวัคซีนทุกครั้งที่มีการฉีดวัคซีน
กรณีผู้จะรับวัคซีนมีไข้สูงให้เลื่อนออกไปก่อ
หญิงตั้งครรภ์ไม่ควรฉีดวัคซีนเชื้อเป็น
การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
หน่วยบริการนอกสถานที่
การเตรียมอุปกรณ์สา หรับการใหว้คัซีน
การเตรียมสถานที่ใหบ้ริการ
การจัดท่าเด็ก
การจัดท่าเด็กเลก็ ทารก ขวบปีแรก 1-3 ปี
การจัดท่าเด็กโตและผู้ใหญ่
ป้องกันอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
เพื่อลดความเจบ็ปวดและความกลวัของผรู้ับบริการได้
การให้คำ แนะนำในการปฏิบัติภายหลงัการรับวัคซีน
อาการปวด บวมแดง หรือมีก้อนแข็งบริเวณทฉี่ีดวคัซีน
อาการไข้
มีตุ่มหนอง