Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
หลักการประเมินผู้คลอดแรกรับใหม่
การซักประวัติ
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล
การเจ็บครรภ์ (Labor pain)
มีน้ำเดินหรือถุงน้ำแตก (Rupture of membranes)
2.มูก (Show)
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติการแท้งการขูดมดลูก
ประวัติภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ประวัติการคลอด
ประวัติความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อนต่างๆในระยะคลอดและหลังคลอด
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
ลำดับของการตั้งครรภ์
อายุครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนหรืออาการผิดปกติขณะตั้งครรภ์
ประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม และศัลยกรรม ทั้งปัจจุบัน และอดีต
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆ การผ่าตัด
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
ลักษณะรูปร่าง
ลักษณะทั่วไป ประเมินสภาพของผู้คลอด
สัญญาณชีพ
น้าหนัก
พฤติกรรมการแสดงออกถึงความเจ็บปวด
การตรวจร่างกายเฉพาะที่
การดู
ขนาดของท้อง
ลักษณะมดลูก
ลักษณะทั่วไปของท้อง
การเคลื่อนไหวของทารก
การคลำ
เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของระดับยอดมดลูกกับอายุครรภ์
ส่วนนาทารก ระดับของส่วนนา ท่าและทรงของทารก การเข้าสู่เชิงกรานของส่วนนาทารก
การคาดคะเนน้าหนักของทารก
ความสูงของยอดมดลูก
การฟัง
การฟังเสียงหัวใจทารก
ระยะที่สองของการคลอดควรฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5-10 นาที
อัตราการเต้นของหัวใจปกติ อยู่ระหว่าง 110 – 160
ตาแหน่งของเสียงหัวใจทารก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจปัสสาวะ หาโปรตีนและน้ำตาลในปัสสาวะ เพื่อประเมินภาวะความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์และภาวะเบาหวาน หากพบความผิดปกติจะต้องรายงานแพทย์เพื่อการรักษา ปัสสาวะที่ใช้ตรวจควรเป็น mid stream urine
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินโดยใช้เครื่องอิเล็กโทรนิก
การประเมินโดยการวางฝ่ามือบนยอดมดลูก
ถ้ามดลูกหดรัดตัวแรงมากผิดปกติ คือ กล้ามเนื้อมดลูกจะแข็งมาก มีระยะพักสั้น
การเปิดขยายและความบาง ของปากมดลูก
เมื่อการคลอดก้าวหน้าขึ้นมดลูกมีการหดรัดตัวดีจะทาให้ปากมดลูกบางและเปิดขยายมากขึ้นตามลาดับจนปากมดลูกเปิดหมดคือ 10 เซนติเมตร และบางหมด 100%
การเปิดขยายของปากมดลูกเป็นตัวบ่งชี้ที่ชัดเจนว่าการคลอดมีความก้าวหน้าหรือไม่ ถ้าปากมดลูกไม่เปิดตามเกณฑ์ปกติควรรายงานแพทย์และให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำและ การหมุนของศีรษะทารก
ทารกจะเคลื่อนต่าลงและมีการหมุนของศีรษะภายในตามกลไกการคลอดปกติดี (จากการตรวจภายใน)
ตาแหน่งของเสียงหัวใจทารกจะเคลื่อนต่าลง และเบนเข้าหาแนวกึ่งกลางลาตัวของผู้คลอด
การดิ้นของทารกในครรภ์
ในภาวะปกติทารกในครรภ์มีการเคลื่อนไหวอย่างน้อย 10 ครั้งในช่วงระยะเวลา 12 ชั่วโมง
การที่เลือดไปเลี้ยงมดลูกและรกลดลง ทาให้ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ อาจส่งผลให้ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
ในผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยงสูง อาการนาที่แสดงถึงภาวะผิดปกติของทารกในครรภ์ คือ ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลงจนกระทั่งหยุดดิ้น
ลักษณะน้ำคร่ำ
C = clear liqour draining (น้าคร่าใสปกติ)
M = meconium stained liqour draining (น้าคร่ามีขี้เทาปน)
A = absent ถุงน้าแตกแต่ตรวจภายในไม่พบน้าคร่า
B = blood stained (น้าคร่าปนเลือด
การเตรียมผู้คลอด
การเตรียมผู้คลอดทางด้านจิตใจ
การอธิบายให้ทราบเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์
อธิบายเกี่ยวกับการรับไว้เพื่อรอคลอด
เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย
การเตรียมผู้คลอดทางด้านร่างกาย
การทาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก และฝีเย็บ
การสวนอุจจาระ
การทาความสะอาดร่างกาย
จัดให้พักผ่อนในห้องรอคลอดและดูแลอย่างใกล้ชิด
บทบาทพยาบาลในระยะของการคลอด
มีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา รู้เทคนิคของการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะเจ็บครรภ์จนถึงสิ้นสุดของการคลอด
มีความสามารถและชำนาญในเทคนิคต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้คลอดปลอดภัย
มีการตัดสินใจที่ดีและมีความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น
มีความตื่นตัวในการค้นพบความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
มีความสามารถในการค้นหาความต้องการของหญิงที่อยู่ในระยะคลอดและดูแลตามความต้องการนั้น
มีสัมพันธ์ภาพที่ดี มีความเห็นอกเห็นใจหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในระยะของการคลอด