Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease) - Coggle Diagram
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
(Ischemic heart disease)
การตรวจร่างกาย
การดู inspection
cyanosis
capillary refill > 3sec
การคลำ palpation
pluse เบาเร็ว
petting edema
ฟัง
auscultation
Heart sound
murmur
gallop
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการเจ็บหน้าอก ลักษณะแน่นตึงบริเวณกลางหน้าอกร้าวไปแขนซ้าย กรามซ้าย หรือฝ่ามือซ้าย
2.มีอาการเหงื่อแตกใจสั่น หรืออาจมีมือเท้าเย็นระหว่างที่มีอาการเจ็บหน้าอก
3.ในกรณีที่มีอาการเรื้อรังมักมีอาการเจ็บหน้าอกสัมพันธ์กับการออกแรงหรือการออกกำลังกายและการหยุดพัก
4.อาการเจ็บหน้าอกมักจะเป็นๆหายๆ ในช่วงเวลาหนึ่งหรืออาจมีอาการรุนแรงจนต้องเข้าโรงพยาบาล และมักไม่สัมพันธ์กับการเคลื่อนไหวร่างกายหรือหายใจ
5.ในผู้ป่วยสูงวัยพบว่าอาจไม่มีอาการเจ็บหน้าอกแต่มาด้วยอาการ เหนื่อยหรือหายใจไม่ค่อยสะดวกได้
6.ขาและข้อเท้าบวม เกิดจากการบวมน้ำ โดยจะมีอาการบวมเกือบตลอดทั้งวัน ยกเว้นในเวลาช่วงเช้าที่จะไม่รุนแรงมากนัก
7.หายใจลำบาก ผู้ป่วยจะมีอาการหายใจสั้น และหายใจไม่สะดวก โดยเฉพาะหลังจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ หากอยู่ในขั้นรุนแรงก็อาจเป็นในระหว่างที่พักด้วย จะยิ่งหนักขึ้นเมื่อผู้ป่วยนอนราบ ซึ่งอาจนำมาสู่การสะดุ้งตื่นกลางดึกเพราะหายใจไม่ออก
การตรวจพิเศษ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
(Eletrocardiogram)
ผู้ป่วยที่มีภาวะหลอดเลือดหัวใจอุดตันอย่างเฉียบพลัน และกล้ามเนื้อหัวใจตายตลอดความหนาของกล้ามเนื้อหัวใจ (tranmural mi)ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วนที่เรียกว่า ST segmentมีการยกตัวสูงขึ้น 1 mm การเปลี่ยนแปลงนี้มักจะเกิดหลังจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (Exercise stress test)
เป็นการตรวจหาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดหัวใจตีบ
ตรวจหาการเต้นของหัวใจผิดจังหวะที่เกิดขณะออกกำลังกาย
ผู้ป่วยเหล่านี้อาจไม่มีอาการ หรือความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะพัก แต่เมื่อออกกำลังกายหัวใจจะมีเลือดไปเลี้ยงไม่พอ ทำให้เกิดภาวะหัวใจขาดเลือดมีอาการแสดงและการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ช่วยให้แพทย์สามารถวินิจฉัยโรคได้
การเอ็กซเรย์ (X-ray)
ในผู้ป่วยที่มีอาการของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ จะพบหินปูนบริเวณหลอดเลือดหัวใจ
การตรวจ Cadiac markers
ช่วยวินิจฉัยบอกระดับความรุนแรงของภาวะหัวใจขาดเลือด
cTnT (cardiac troponin T) เริ่มสูงขึ้นประมาณ 2 - 4 ชั่วโมง หลังเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด คงอยู่นาน 10 - 14 วัน และลงสู่ปกติอย่างรวดเร็ว
CK (creatine kinase) และ CK - MB (CK - isoenzyme) เริ่มสูงขึ้นประมาณ 3 - 6 ชั่วโมง หลังมีอาการเจ็บหน้าแกจากหัวใจขาดเลือด และจะขึ้นสูงสุดใน 24 ชั่วโมง ลดลงสู่ปกติใน 2 - 4 ชั่วโมง
LDH ( lactic dehydrogenase) เริ่มสูงขึ้นประมาณ 24 - 48 ชั่วโมง หลังจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด สูงสุดที่ 3 - 6 วัน และลดลงสู่ปกติใน 8 - 14 วัน
การตรวจ C - reactive protein
เพศชายถ้าสูงกว่า .15 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร เพศหญิงถ้าสูงกว่า .38 แสดงว่ามี LDL สูง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC พบค่า WBC สูงระหว่าง 12,000 - 15,000 ลบ.ซม. โดยจะสูงในระยะแรกและคงอยู่ 3 - 7 วันหลังเกิดอาการเจ็บหน้าอก
SR (erythrocyte sedimentation rate) อัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดงสูงขึ้นช้า แต่อยู่นานเกินสัปดาห์
สาเหตุและปัจจัย
สาเหตุ
เกิดจากภาวะหลอดเลือดแข็งตัวเนื่องจากมีไขมันมาเกาะ(atherosclerosis plaque) ซึ่งทำให้ช่องทางเดินของเส้นเลือดตีบลงจึงส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงกลา้มเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ
ปัจจัย
3.เบาหวาน (Diabetes mellitus)
4.ภาวะไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
2.ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertension)
5.โรคอ้วน (Obesity) หรือ ดัชนีมวลกายมากกว่า 30ปี
1.อายุมากกว่า 55 ปี ในผู้ชาย หรือ 65 ปี ในผู้หญิง
6.การสูบบุหรี่ (Smoking)
7.ภาวะเส้นเลือดที่แขนหรือขาตีบ (Peripheral arterial disease)
8.ภาวะไตวายเรื้อรัง (Chronic kidney disease)
9.ความเครียด (Stress)
10.ประวัติโรคเส้นเลือดหัวใจตีบในครอบครัว