Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแล ผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแล ผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับ ความผิดปกติของสมอง และไขสันหลัง
Cerebral Aneurysm
สาเหตแุละปัจจยัเสยง
เป็นตั้งแต่กำเนิด
ผนังหลอดเลือดชั้นกลางอ่อนแอ
ความดันโลหิตสูง
หลอดเลือดแดงแข็งและมีไขมันเกาะ
สูงอายุ
ความเครียด
อาการและอาการแสดง
ปวดศรีษะรุนแรง
ง่วงซึม สับสน หรือบางรายอาจหมดสติทันที
อาการของเยื่อหุ้มสมองถูกรบกวน ได้แก่ คอแข็ง กลัวแสง ปวดหลัง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจพิเศษ
CT Scan
Lumbar puncture
การตรวจร่างกาย
การรักษา
จำกัดกิจกรรม แสงสว่าง
ควบคุมระดับความดันโลหิตให้คงที่ เพื่อให้สมองได้รับการกำซาบเพียงพอ
ประเมินอาการทางระบบประสาท
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เพื่อประเมินการทำงานของหัวใจ
ลดภาวะหลอดเลือดหดตัว
การผ่าตัด
Aneurysm Clipping
Endovascular Therapy
Arteriovenous Malformation
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เกิดตั้งกำเนิด
ขาดหลอดเลือดฝอยเชื่อมระหว่าง Artery กับ Vein จึงเกิดทางลัด ตรงกลางเป็นเส้นแดงใหญ่
อาการแสดง
ปวดศรีษะ
ชัก
มีเลือดออกในสมอง
SAH
การรักษา
การรักษาคล้ายกับผู้ป่วย Cerebral Aneurysm
การผ่าตัด
Endovascular Therapy and Embolization
Radiosurgery
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการทางคลินิก
ระดีับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง (ซึมลง สับสน)
Cushing's triad; hypertension, bradycardia, irregular respiration
ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง
ปวดศีรษะมาก อาเจียนพุ่ง รูม่านตาบวม
อาการระยะท้าย; โคม่า หยุดหายใจ อุณหภูมิร่างกายจะเพิ่มขึ้น รูม่านตาขยายหรือไม่มีปฏิกริยาต่อแสง
การประเมิน
การซีกประวัติ: การบาดเจ็บ อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
Glasgow Coma Scale (GCS)
Vital signs à Cushing's triad
pupil reaction, size, conjugate
head injury
.Motor power
การตรวจพิเศษอื่นๆ
การวัดความดันกะโหลกศีรษะ
การวัดความดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง
CT- scan, MRI
การพยาบาล
ติดตามค่า ICP, CPP, V/S & arterial pressure
การผ่าตัด
ventriculostomy
craniotomy or craniectomy
การรักษาด้วยยา
barbiturate; pentobarbital, thiopental
osmotic diuretic
steroid
การดูแลเรื่องการหายใจ
Nursing diagnosis
แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมองเปลี่ยนแปลง
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
ความสามารถในการทำทางเดินหายใจโล่งไม่มีประสิทธิภาพ
แบบแผนการขับถ่ายเปลี่ยนแปลง
ไม่สุขสบายจากอุหณภูมิร่างกายสูง
เสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลของน้ำ อิเลคโตรไลท์ และสารอาหาร
Nursing interventions
1.นอนศีรษะสูง 30 องศา ศีรษะไม่ก้มหรือเงยมากเกินไป เพื่อให้ระบายของเลือดกลับเข้าสู่หัวใจำด้ดีขึ้น เลี่่ยงการงอข้อสะโพกมากเกินไป
2.V/S, N/S, LOC, GCS ทุก 15-30 นาที หรือ 1 ชั่วโมงตามสภาพของร่างกาย
3.ดูแลการได้รับออกซิเจนดูดเสมหะตามความจำเป็นและมีประสิทธิภาพไม่เกิน 15 นาที/รอบ
4.ดูแลเรื่งการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ ติดตามการหายใจ และ ABG
5.เลี่ยงการกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเกร็งและเลี่ยงการผูกมัด
6.พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง ช่วยเคาะปอด ป้องกันการตกค้างของเสมหะ
7.ดูแล Temp ในรายที่มีการติดเชื้ออาจต้องให้ ABO
8.ดูแลให้ได้รับยา antihypertensives, osmotic diuretic
9..IV fluid ประเมิน intake & output ความตึงตัวของผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ
11.ประเมินการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ บันทึก urine output, urine specific gravity & glucose หากคาสายสวนปัสสาวะป้องกัน การติดเชื้อ
12.ลดความไม่สุขสบายต่างๆ ดูแลความสะอาดของร่างกายและช่องปาก ฟัน
13.ลดกิจกรรมการพยาบาลที่รบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็นบางรายอาจต้องให้ยากล่อมประสาท
14.ดูแลป้องกันอัยตรายจากการชัก ป้องกันการกัดลิ้น เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ป้องกันอุบัติเหตุในระหว่างการชัก
10.ประเมินการทำงานของลำไส้และอาการอืดแน่นท้อง
16.ผ่าตัด ventriculostomy ดูแลให้มีการระบายให้เหมาะสม
นอนหัวสูง 15-13 องศา
ตรวจสอบแผล สังเกตลักษณะ ปริมาณ กลิ่นของสิ่งคัดหลั่ง
พลิกตะแคงตัว ยกเว้นในรายที่ผ่าตัดเอาก้อนใหญ่ออกมา ไม่ควรตะแคงเพราะอาจทำให้สมองเคลื่อนไปอีกซีกได้
โรคพาร์กินสัน
สาเหตุ
ร่างกายขาดสารโดปามีนในสมอง
เกิดจากเสื่อมและตายไปของเซลล์สมอง
อาการ
เคลื่อนไหวช้า
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง
อาการสั่น
อาการทรงตัวลำบาก
การรักษา
ขณะนี้ยังไม่มีวิธีการรักษาใด
การรักษาโดยการใช้
ยาที่ช่วยชะลออาการ
รักษาตามอาการ
การรักษาโดยการทำกายภาพบำบัด
การผ่าตัดสมอง
โรคอัลไซเมอร์
ปัจจัยเสี่ยง
ประวัติการป่วยในครอบครัว
ป่วยด้วยโรคดาวน์ซินโดรมหรือพากินสัน
อายุ พบมากในผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป
อาการ
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงร่วมกับอาการทางจิต เช่น ก้าวร้าว เดินละเมอ
อาการทางเชาวน์ปัญญา เช่น ความจำเสื่อมลง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติจากผู้ดูแล
เอ็กซเรย์สมองด้วยคอมพิวเตอร์
การรักษา
การรักษาส่วนใหญ่เพื่อบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น
การใช้ยาสามารถช่วยลดความกังวล
โรคนี้ยังไม่มีการรักษาที่แท้จริง
Multiple sclerosis
สาเหตุ
ภูมิคุ้มกัน
การอักเสบติดเชื้อจากไวรัสอย่างช้าๆ
กรรมพันธุ์
สภาพแวดล้อมยังไม่ทราบปัจจัยที่แน่นอน
อาการและอาการแสดง
แขนขาอ่อนแรง มี Babinskis 'sign ทั้ง 2 ข้าง
พูดตะกุกตะกัก ลูกกะตา อาการสั่น
การรับความรู้สึกผิกปกติและอาการชา อาการเสียวแปลบ
กล้ามเนื้อใบหน้าส่วนครึ่งล่างอ่อนแรง
การเห็นผิดปกติ เห็นภาพซ้อน ภาพมัวหรือสายตาเสื่อมลง
ระบบการขับถ่ายเสียหน้าที่
ความผิดปกติทางด้านอารมณ์และจิตใจ
การวินิจฉัย
การเจาะหลังพบ ระดับ grammar globulin ในน้ำไขสันหลังค่าสูง
CT scan จะพบการเปลี่ยนแปลง ฝ่อลีบ หรือเหี่ยว
จากอาการเฉพาะที่ทางคลินิคที่ปรากฏให้ชัดเจน
การตรวจคลื่นสมอง อาจพบความผิดปกติ
การรักษา
การทำกายภาพบำบัด
ให้ยาลดสภาพของอารมณ์ที่ไม่มั่นคง
การรักษาทางยา ลดอาการกล้ามเนื้อกระตุก
การให้ยา ACTH เพื่อลดภาวะลดบวมของมัยอิลิน
GUILLAIN-BARRE SYNDROME
สาเหตุ
การติดเชื้อทางเดินอาหาร
คางทูม หัด อัสุกอีใส
การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
ภายหลังได้รับวัคซีนโรคไข้หวัดใหญ่
อาการ
อาการอ่อนแรง เดินลำบาก มักจะทำให้เกิดปัญหาการหายใจล้มเหลว
ผุ้ป่วยมีปัญหาในการกลืน พูด หายใจ มีอัมพาตของหน้า
อาการชาเหน็บและเจ็บเฉพาะปลายแขน
อาการทางระบบประสาทพาราซิมพาเททิและซิมพาเททิค
การวินิจฉัยโรค
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและอื่นๆ
การซักประวัติ
การรักษา
การช่วยหายใจผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว
การให้ยากลุ่มสตีรอยด์
การเปลี่ยนพลาสม่า
MYASTENIA GRAVIS
อาการและอาการแสดง
อาจมีอาการพูดอ้อแอ้ กลืนลำบาก พูดเสียงขึ้นจมูก
ถ้ามีเป็นรุนแรงก็อาจทำให้กล้ามเนื้อช่วยหายใจเป็นอัมพาตหยุดหายใจตายได้
อาการหนังตาตก ตาเข มองไม่ภาพชัด เห็นภาพซ้อน
การวินิจฉัยโรค
ตรวจร่างกาน อาการและอาการแสดง
ทดสอบโดยการฉีดยานีโอสติกมีนเข้าหลอดเลือดดำ ซึ่งจะทำให้มีอาการดีขึ้นถ้าเป็นโรคนี้
การอาศัยประวัติ
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
คอร์โคสตีรอยด์
หากว่ามีต่อมไธมัสร่วมด้วย ให้ทำการผ่าตัดต่อมออก
การเปลี่ยนถ่ายพลาสม่า
การบาดเจ็บไขสันหลัง
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ตกจากที่สูง
โดนยิง หรือถูกแทง
การเสื่อมของกระดูกสันหลัง
อุบัติเหตุรถยนต์ จักรยานยนต์
การอักเสบของเยื่อหุ้มไขสันหลัง
โรคกระดูกพรุน
กลไกการบาดเจ็บไขสันหลัง
การบาดเจ็บท่าแหงนคอมากกว่าปกติ
การบาดเจ็บค่างอ และท่าหมุน
การบาดเจ็บแบบงอ
การบาดเจ็บแบบยุบจากแรงอัด
การบาดเจ็บแบบ Penetrating injury
การบาดเจ็บที่มีลักษณะเฉพาะ
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังก่อนถึง รพ
การดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่ง
การดูแลห้ามเลือดในที่เกิดเหตุ
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายที่สุด
การเคลื่อนย้ายต้องใช้คนอย่างน้อย 3 คน โดยดารใช้ spinal board
นางสาวเข็มทราย มุมทอง รหัส 612501015