Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ - Coggle Diagram
หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ
การบริหารระบบ
การขั้นตอนการบริหารระบบ
การนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)
การติดตามประเมินผล และรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining
Change)
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
รูปแบบการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก เป็นการเปลี่ยนแปลงตนเองก่อนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลงผู้อื่นซึ่งต้องอาศัยการวิเคราะห์สถานการณ์ และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงเชิงรับ เป็นการถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่นตัวเองไม่ยอมที่จะ เปลี่ยนแปลง หรือมีความคิดติดยึดในแนวทางเดิมๆมานาน ซึ่งอาจไม่เหมาะสมกับสภาวะการณ์ในปัจจุบันและอนาคต
หมายถึงการจัดการกับเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์การเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเหมาะสม องค์การได้รับผลดีและลดผลกระทบในทางที่ไม่ดีของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะช่วยให้องค์การดำเนินงานไปได้อย่างต่อเนื่อง ราบรื่น สามารถอยู่รอดและเจริญก้าวหน้าไปได้ทำให้เกิดการพัฒนาองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
แรงต่อต้าน
การขาดความรู้ความเข้าใจที่ดีพอเกี่ยวกับแนวทาง วิธีการ และจุดหมายปลายทางของการ
เปลี่ยนแปลง
ความไม่เชื่อถือ ไว้วางใจ ไม่เชื่อใจกัน
ความรู้สึกหวั่นไหวต่อความคลุมเครือ ความไม่แน่นอน
ความกลัวว่าจะต้องสูญเสียประโยชน์
แรงเสริม
ความไม่พึงพอใจในสภาพปัจจุบันที่เป็นอยู่
ความสามารถในการรับรู้ข่าวสารร่วมกันในหมู่คนในองค์การ
ภาพลักษณ์ และการปฏิบัติตนของผู้น าที่แสดงถึงความมุ่งมั่น
การเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลในตำแหน่งต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มตำแหน่งผู้บริหาร
ความจำเป็นขององค์การที่ต้องใช้เทคโนโลยีในการดำเนินการ
สัมพันธภาพระหว่างบุคลากรในฝ่ายและระดับต่างๆ ในองค์การ
กลไกในการประเมิน ทบทวนสภาพภายในองค์การ
การได้ติดต่อสัมพันธ์กับภายนอกองค์การ
การบริหารพัสดุ
หลักการบำรุงรักษาพัสดุ
การควบคุมดูแล การเบิกจ่าย
จัดทำคู่มือบำรุงรักษา
จัดทำสมุดทะเบียน
รายงานการส่งซ่อมอุปกรณ์
ประเภทของพัสดุ
พัสดุวิทยาศาสตร์
พัสดุยานพาหนะ
พัสดุทางการแพทย์
พัสดุงานบ้าน
พัสดุประเภทสำนักงาน
วัตถุประสงค์การบริหารพัสดุ
เพื่อจัดหาพัสดุให้เพียงพอต่อการใช้อยู่ตลอดเวลา
เพื่อประหยัดงบประมาณหรือเงินบำรุงในการจัดซื้อพัสดุ
เพื่อควบคุมการใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
ง่ายต่อการตรวจสอบป้องกันทุจริต
ขั้นตอนการบริหารพัสดุ
จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง
การแจกจ่าย
กำหนดความต้องการ
การจำหน่าย
วางแผน / กำหนดโครงการ
การบำรุงรักษา
แบบป้องกัน
แบบแก้ไข
การบริหารบุคคล
เป็นกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งกำลังคนที่เหมาะสมที่สุดกับงาน และใช้ทรัพยากรกำลังคนนั้นให้สามารถท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดตามเป้าหมายที่องค์การได้กำหนดไว้
ความสำคัญ
เพื่อรักษาไว้ซึ่งบุคคลให้ทำงานกับองค์การนานๆ
เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีของบุคคลกลุ่มต่างๆขององค์การ
เพื่อใช้ประโยชน์ของบุคคลอย่างเต็มกำลังในการทำงาน
เพื่อพัฒนาทักษะและเสริมสร้างความสามารถของบุคลากรให้มีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง
เพื่อสรรหาและเลือกสรร ให้ได้บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถและความประพฤติดีเข้ามาทำงาน
หลักการบริหารงานบุคคล
ระบบคุณธรรม
หลักความเสมอภาค (equality of opportunity)
หลักความสามารถ (Competency)
หลักความมั่นคง (Security of tenure)
หลักการเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality)
ระบบอุปถัมภ์ เป็นระบบการบริหารงานบุคคลที่ตรงข้ามกับระบบคุณธรรม ส่วนใหญ่จะยึดถือหลักพวกพ้อง เครือญาติ หรือมีผู้อุปการะ
การสรรหาบุคคลและการบรรจุแต่งตั้ง
การสรรหาและการคัดเลือก
การแสวงหาบุคลากรที่มีความรู้ มีความสามารถ และมีเจตคติที่ดีต่อการทำงานให้มาสมัครงาน เพื่อให้ผู้บริหารจะได้พิจารณาคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมที่สุดเข้าปฏิบัติงานในองค์การ
ขั้นตอนการสรรหา
กำหนดนโยบายการสรรหา (Recruiting Policies) โดยน าข้อสรุปจากการวิเคราะห์งานและคำบรรยายลักษณะงานมาก าหนดคุณสมบัติบุคลากรที่ต้องการ รวมทั้งเงินเดือน/ค่าจ้าง
กำหนดแหล่งสรรหาบุคลากร (Source of recruitment)
ข้อดี : คัดเลือกพนักงานได้หลากหลาย ได้แนวคิดใหม่ๆมาใช้พัฒนางาน
ข้อเสีย : สิ้นเปลืองเวลา/ค่าใช้จ่าย ปิดโอกาสความก้าวหน้าของพนักงานภายใน เกิดข้อขัดแย้งพนักงานใหม่-เก่า
การพัฒนาบุคลากร
กิจกรรมที่เสริมสร้างบุคคลให้เกิดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาความรู้และเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะ หรือความชำนาญในการปฏิบัติให้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ประเภทการฝึกอบรม
การฝึกอบรมก่อนเข้าทำงาน เป็นการฝึกอบรมตั้งแต่อยู่ในโรงเรียน
การอบรมปฐมนิเทศ เป็นการจัดเพื่อต้อนรับ /แนะนำพนักงานใหม่ให้รู้จักองค์กรในเรื่อง นโยบายการบริหาร โครงสร้างองค์กรผู้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงาน กฎระเบียบ สวัสดิการ
การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติงาน ได้แก่ on the job training,
การสอนงาน, การอบรมระยะสั้น การจัดวิชาการภายในหน่วยงาน
การพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพ เป็นการพัฒนาศักยภาพการให้โอกาสศึกษาต่อเพื่อให้บุคลากรมีวุฒิการศึกษาที่สูงขึ้น ได้เลื่อนตำแหน่งและมีความก้าวหน้าตามบันไดวิชาชีพ
แรงจูงใจ
ภายใน : เกิดจากความทะเยอทะยานในการก้่าวหน้า ความสนใจ ความคาดหวัง
ภายนอก : เงินเดือน ความมั่นคง สถานที่ทำงาน อิสระในการทำงาน
การบริหารงานงบประมาณ
การวางแผนความต้องการด้านการเงินไว้ล่วงหน้าว่าจะทำกิจกรรมใด เมื่อใด และใช้โดยใครมีระยะเวลาเงื่อนไขกำหนดหรือ การนำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายมาดำเนินการให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ซึ่งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบัญญัติ ระเบียบและวิธีการที่กำหนด
ความสำคัญและประโยชน์ของงบประมาณ
เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้มีประสิทธิภาพ
เป็นเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เป็นธรรม
ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาหน่วยงาน
เป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ งานและผลงานของหน่วยงาน
ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารหน่วยงาน
บทบาท
บุคลากร
ต้องรู้จักเข้าใจบทบาทและอำนาจหน้าที่ของตนเอง ต้องจัดระบบบริหารงบประมาณให้มีประสิทธิภาพ
องค์การ
จัดระบบงานให้มีสายการบังคับบัญชา ให้ีการประสานกับหน่วยงานในองค์กร และจัดให้องค์กรเป็นศูนย์กลางรวมข้อมูลงบประมาณขององค์กร
ผู้บริหาร
ต้องตระหนัก จัดองค์กรและวางแผนการปฏิบัติงาน จัดบุคลากรที่รับผิดชอบ จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ที่จำเป็น