Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Diabetes Millitus in Pregnancy - Coggle Diagram
Diabetes Millitus in Pregnancy
เป็นมาก่อนตั้งครรภ์ พบได้ทั้ง type I หรือ type II l (Overt diabetes millitus/pre-gestationaI diabetes millitus
2.เกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ ( Gestational diabetes millitus : GDM)
เกณฑ์การวินิจฉัย
1.การตรวจหาน้ำตาลในปัสสาวะพบมากกว่าหรือเท่ากับ 2 ขึ้นไป 2 ครั้งติดต่อกัน
ตรวจหาน้ำตาลในเลือด One step approach Two Step app roach
Hight risk พบปัจจัยต่อไปนี้ตั้งแต่หนึ่งข้อขึ้นไป
อายุมากกว่า 35 ปี โอกาสเกิด GDM 21.7 เท่า มากกว่า 40 ปีโอกาสเกิด GDM 31.9 เท่า
BMI มากกว่า 30 ความเสี่ยงเพิ่ม 4 เท่า BMI มากกว่า 35 ความเสี่ยงเพิ่ม 8 เท่า
เบาหวานในญาติใกล้ชิด
ประวัติการคลอดที่ผ่านมาผิดปกติ
ประวัติเบาหวานในครรภ์ที่ผ่านมา
พบน้ำตาลในปัสสาวะ
Moderate
ไม่จัดอยู่ในความเสี่ยงสูงหรือต่ำ
Low risk
อายุน้อยกว่า 25 ปี เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ำ
ไม่มีญาติเป็นเบาหวาน
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์และน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ปกติ BMI น้อยกว่า 26 Kg/m2
ไม่มีน้ำตาลในเลือด
อาการแสดง
ไม่รุนแรง : ไม่มีอาการ ทราบจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
รุนแรง :ปัสสาวะมาก ตามัว คอแห้ง แผลหายช้า หิวบ่อย เชื้อราผิวหนัง ketoacidosis
ผลของการตั้งครรภ์ต่อไปเบาหวาน
การต้านฤทธิ์อินซูลินจากฮอร์โมนของรก
การควบคุมเบาหวานยากขึ้น
ติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
โอกาสเกิด metabolic acidosis ง่ายขึ้น
น้ำตาลในเลือดต่ำขณะคลอด
Diabetic nephropathy
Diabetic retinopathy
ผลของเบาหวานต่อการตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
ทารกตัวโต
การบาดเจ็บจากการคลอดจากทารกตัวโต
การผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
ทารกแรกเกิดมีภาวะ hypoglycemia,hypocalcemia,hypokalemia,hyperbilirubin,polycyhemia
กลายเป็นคนอ้วนเป็นเบาหวานในอนาคต
คลอดก่อนกำหนด
ตกเลือดหลังคลอด
ผลของ Pre - GDM ต่อมารดา
อาจเกิดการแท้ง
คลอดยาก
น้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำ
ติดเชื้อในครรภ์
ครรภ์แฝดน้ำ
ความดันโลหิตสูง
การบาดเจ็บจากการคลอด
ผ่าตัดคลอด
ภาวะแทรกซ้อนต่อเส้นประสาท หลอดเลือดหัวใจ
มารดาเสียชีวิต
ปัญหาทางด้านจิตสังคม
การดูเเลรักษา
GDM A1
ควบคุมน้ำตาล
ออกกำลังกาย
ติดตามค่า DTX
หลังคลอด 6 สัปดาห์ นัดตรวจในเลือด
GDM A2
ควบคุมน้ำตาลออกกำลังกายเริ่มฉีดอินซูลินเมื่อ FPG mg/dl มากกว่า 120 หรือ 2 ชั่วโมง PP มากกว่า 120 mg/dl
ติดตามสุขภาพทารก
ถ้าควบคุมน้ำตาลไม่ได้รอให้เจ็บครรภ์คลอดเองตามปกติช่วงเจ็บครรภ์ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดทุก 1-2 ชั่วโมง
DTX หลังคลอดและหยุดฉีดอินซูลินทันที
หลังคลอด 6 สัปดาห์นัดตรวจ 75 g-OGTT
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ควบคุมระดับน้ำตาล : ป้องกันไม่ให้การดำเนินของโรครุนแรงขึ้น ควบคุมและป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ประเมินการทำหน้าที่ของรกประเมินภาวะ fetal distress คือ การดิ้นของทารก
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว เช่น การสังเกตอาการผิดปกติ น้ำตาลในเลือดต่ำ/สูง ติดเชื้อ ความดันโลหิตสูงให้มาพบแพทย์ก่อนนัด
Class A-1 ที่มี FBS ปกติ เเต่มี OGIT ผิดปกติให้คุมอาหารอย่างเดียว
เเนะนำการออกกำลังกาย 35-40 นาที เมื่อเหนื่่อยควรพัก
ระยะก่อนตั้งครรภ์
อธิบายความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
แนะนำให้คุมกำเนิดจนกว่าจะคุมน้ำตาลได้
แนะนำให้คุมน้ำตาลก่อนการตั้งครรภ์อย่างน้อย 3 เดือน
แนะนำให้รับประทาน folic Acid อย่างน้อย 3 เดือนก่อนตั้งครรภ์ 3 เดือน
เปลี่ยนจากยากินเป็นยาฉีดและแนะนำให้มาฝากครรภ์ทันที
ทารกแรกเกิด
ประเมินความผิดปกติทารกประเมินภาวะ neonatal hypoglycemia
Feeding ทารกภายใน 30 นาที
มารดาหลังคลอด
GDM 1 นัดตรวจ 75 g OGTT ช่วง 6 Week หลังคลอด
GDM 2 หยุดให้อินซูลิน ติดตาม DTX นัดตรวจ 75 g OGTT หลังคลอด
Overt DM ควบคุมน้ำตาล ปรับยา ดูแลไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
การใช้อินซูลินเพื่อควบคุมน้ำตาล
เปลี่ยนจากยาทานเป็นยาฉีด
เริ่มใช้ยาเมื่อระดับ FBS มากกว่า 105 mg/dl และได้มีการควบคุมอาหารร่วมด้วย
ในผู้ป่วย overt DM ต้องรับไว้ในโรงพยาบาล
หลังจากให้ผู้ป่วยกลับบ้านควรนัดเพื่อตรวจระดับน้ำตาลอาทิตย์ละ 1 ครั้ง
ระยะแรกของการตั้งครรภ์ระวังการให้อินซูลิน
ความต้องการอินซูลินจะเพิ่มขึ้นตามอายุครรภ์
ภาวะเเทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานที่ขาดอินซูลิน
DKA
ระยะคลอด
GDM 1 ไม่ใช้อินซูลินดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
GDM 2 ใช้อินซูลินควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติดูไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนให้ข้อตามข้อบ่งชี้
Overt DM ใช้อินซูลินควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติดูแลไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนให้คลอดตามข้อบ่งชี้
กรณีที่ใช้อินซูลินควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในช่วง 80-120 mg/dl เพื่อป้องกันภาวะ hyperglycemia hypoglycemia และ neonatal hypoglycemia ดูแลการได้รับอินซูลินและสารน้ำตามแผนการรักษาติดตามน้ำตาลทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูเเลขณะคลอด
Regular insulin IV 0.5 - 2 U/hr ร่วมกับกลูโคส IV 5-10 g/hr
DTX ทุก 1-2 ชั่วโมงให้อยู่ที่ 70-100 mg/dl
RI 8-10 U+ 5% D/NSS 100-120 m/hr เมื่อทารกเเละรกคลอดแล้วให้อินซูลินให้เป็น 5% D/NSS
ประเมินอาการผิดปกติ เช่น น้ำตาลในเลือดต่ำหรือสูงกว่าปกติ BP สูงเตรียมอุปกรณ์การช่วยฟื้นคืนชีพมารดาและทารกให้พร้อม