Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดระยะที่่1 ของการคลอด, การประเมินสภาวะผู้คลอดในระยะแรกรับ -…
การพยาบาลผู้คลอดระยะที่่1 ของการคลอด
บทบาทพยาบาล
มีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา
มีความสามารถและความชำนาญในเทคนิคต่างๆ
มีการตัดสินที่ดีและความพร้อมที่จะช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตื่นตัวเมื่อพบความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
สามารถค้นหาความต้องการและตอบสนองสิ่งนั้นของหญิงตั้งครรภ์
มีสัมพันธภาพที่ดี
หลักการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ในระยะคลอด
ให้การพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ
1.ดูแลให้ได้รับความสุขสบาย
2.ใช้หลักAseptic techniqe
3.ป้องกันภาวะแทรหซ้อน
เข้าถึงภาวะจิตสังคมของมารดา ควรให้คำแนะนำ อธิบายสื่งที่เกิดขึ้นทุกระยะคลอดเพื่อเพิ่มความมั่นใจให้มารดา
การเตรียมทำความสะอาดทั่วไป
วัตถุประสงค์
ลดอัตราการติดเชื้อและการอักเสบของแผลปบริเวณฝีเย็บ
ลดจำนวนเชื้อโรค
การสวนอุจจาระเพื่อเตรียมคลอด
ข้อห้าม:มดลูกเปิดมากกว่า7ซม.และครรภ์หลัง5ซม ถุงน้ำคร่ำแตก เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด มีเลือดออกช่องคบอด มีโรคแทรกซ้อนเช้นความดันโลหิตสูงรุนแรง
การประเมินสภาวะด้านจิต-สังคม (Paychosocial asaessment)
อายุ ศาสนา อาชีพ รายได้ บทบาทสังคม
ประวัติสมรส
ความต้องการมีบุตร
ความเชื่อพื้นฐานที่มีผลต่อสุขภาพ
ระดับความวิตกกังวล
ความอ่อนเพลีย
การพยาบาลมารดาในระยะที่1 ของการคลอด
หลักการพยาบาลด้านจิต-สังคม
นับถือความเป็นบุคคล
แจ้ง/บอกให้ทราบเมื่อปฏิบัติการ
มีเมตตา
อธิบายให้มารดาและญาติได้เข้าถึงกระบวนการคลอดพอสังเขป
จัดบรรยากาศให้เงียบสงบ
อยู่ใกล้ชิดมารดา
ให้คำชมเชยเพื่อให้มาดาเกิดความมั่นใจ
ประเมินความต้องการของมารดาและตอบสนองเร็ว
ด้านร่างกาย
2.ท่านอนเกี่ยวกับท่านอนระยะต้นของการคลอด
ปากมดลูกเปิดมาก ให้นอนตะแคงซ้าย ไม่ควรนอนหงาย
รายที่ได้รับยา Analgesic drugควรนอนพักบนเตียง
การยืนหรือเดินทำให้ศีรษะเด็กเคลื่อนต่ำลง กระตุ้นมดลูกหดตัว
3.ดูแลความสุขสบาย จัดสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่
1.สภาวะโดยทั่วไปมารดา วัดvital signsทุก4ชม.
4.อาหารในระยะคลอด
ระยะLatent phaseอาจให้รับประทานอาหารได้กรณีไม่ผ่าตัด
ระยะActive phaseควรงดน้ำงดอาหาร
Prolong labour ดูแลการได้รับสารน้ำ
5.ดูุแลกระเพาะปัสสาวะให้ส่างทุก2ชม.
6.ให้ผู้คลอดปฏิบัติผ่อนคลาย
การประเมินการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอด
2.ประเมินโดยใช้แบบประเมินด้วยตัวเอง ให้ผู้คลอดเป็นผู้บอกถึงความเจ็บปวด เช่นแบบสอบถามความเจ็บของแมคเกิลล์
1.ประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางสรีวิทยา
1.2การตอบสนองของระบบParasympathetic
หน้าตาบิดเบี้ยว ร้องไห้ พักไม่ได้ บิดตัวไปมา
ชีพจรช้าลง ความดันโลหิตต่ำ ปฏิเสธเคลื่อนไหว
1.1การตอบสนองของระบบSympathetic
-กล้ามเนื้อหดเกร็ง ม่านตาขยาย
หายใจเร็ว ความดันโลหิตเพิ่ม
วิธีการส่งเสริมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอด
5.เทคนิคผ่อนคลาย:ลดความตึงเครียด
4.เทคนิคการหายใจ:=ช่วยเพิ่มออกซิเจนเกิดผ่อนคลาย เจ็บปวดและความเครียดลดลง
3.วิธีการBradley:สิ่งแวดล้อมการคลอด ให้ธรรมชาติมากที่สุด
2.วิธีของDick-Read:ให้ความรู้เทคนิคผ่อนคลาย การหายใจลดปวด
1.จิตป้องกัน:การออกกำลังการ ฝึกหายใจ การผ่อนคลาย การลูบท้อง
6.การจัดท่าที่เหมาะสม ท่ายืน เดิน ท่าตอนตะแคงจะทำให้สุขสบาย
7.การบำบัดด้วยแรงดันน้ำ การอาบน้ำฝักบัว
8.การใช้ความร้อน-เย็น การใช้ความร้อนของน้ำโดนชยให้ผู้คลอดแช่ในอ่างน้ำอุ่น
9.การเบี่ยงเบนความสนใจ เช่นให้ผู้คลอดสนใจอยู่กับบางสิ่งมากกว่าความปวด
การปฏิบัติเพื่อเผชิญกับความเจ็บปวดในระยะตั้งครรภ์
การจัดการความเจ็บปวดโดยใช้ยา
1.การใช้ยาระงับปวดชนิดทั้งระบบ Systemic analgesia
1.1ยาระงับปวดชนิดเสพติด(narcotics/opiod)= Meperidie (Pethidine)
1.2ยาสงบประสาทและยานอนหลับ (Sedatives and tranquilizers)
1.3ยากล่อมประสาท(Tranquilizer anestics)
1.การหายใจและการลูบหน้าท้อง
การควบคุมการหายใจระยะ
มดลูกเปิดมากขึ้นปากมดลูกเปิ4-7ซม.
มดลูกเปิดช้า ปากมดลูกเปิด3ซม.
มดลูกเปิดเกือบหมดปากมดลูกเปิด10ซม.
มดลูกเปิดช้าหรือระยะเบ่งคลอดปากมดลูกเปิด10ซม.
การลูบหน้าท้อง
1.นั่งหรือนอนในท่าผ่อนคลาย
2.ทำมือทั้งสองข้างให้อยู่ในลักษณะเป็นอุ้งมือ
3.วางมือทั้งสองข้างเหนือหัวเหน่าแล้วลูบไปยังยอดมดลูกโดนสัมพันธ์การหายใจ
หลักการประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
2.ลักษณะน้ำคร่ำ
-ลักษณะใส สีเหลืองจางๆคล้ายสีฟางข้าว เมื่อใกล้กำหนดคลอดจะคล้ายน้ำมะพร้าวเนื่องจากไขของทารกติดมาด้วย
-น้ำคร่ำสีเขียวหรือสีเหลืองน้ำตาลและข้น ---บ่งบอกทารกขาดอากาศหายใจ
3.การดิ้นของทารกในครรภ์
ปกติควรดิ้นอย้างน้อย10ครั้งในช่วงเวลา12ชม.
1.การเต้นของหัวใจทารก ช่วยวินิจฉัยการขาดออกซิเจน ในช่วงประมาณ110-160ครั้ง/นาที จังหวะสม่ำเสมอ
ผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยงต่ำ ---ระยะLatent ควรฟังทุก 1ชม
ระยะActive ควรฟังทุก30นาที
ผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยงสูง ---ระยะLatent ควรฟังทุก 30นาที
ระยะActive ควรฟังทุก15นาที
4.การวิเคราะห์เลือดของทารกในครรภ์
ปกติเลือดทารกในค่าจะมีค่าPHอยูระหว่าง7.25-7.45
5.การบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกโดยใช้เครื่องอิเล็คโทรนิกส์
1.Early deceleration (Type I dip)อัตราการดต้นหัวใจทารกลดลงภายหลังที่มดลูกหดรัดตัวเต็มที่แล้วกลับสู่ปกติเมื่อมดลูกคลายตัว ถือว่าปกติ
2.Late deceleration (Type II dip)อัตราการดต้นหัวใจทารกลดลงภายหลังที่มดลูกหดรัดตัวเต็มที่แล้วไม่กลับสู่ปกติเมื่อมดลูกคลายตัว ถือว่าผิดปกติ
3.Variable deceleration อัตราการเต้นหัวใจลดลงทารกไม่แน่นอน ผิดปกติ
การประเมินการส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
การตรวจทางหน้าท้อง
ใช้กราฟของ Feiedman
1.สังเกตการหดตัวของมดลูกโดยคลำส่งยนำมดลูก
2.การสังเกตการเคลื่อนต่ำของส่วนนำและมีการหมุนของศีรษะทารากตามกลไกการคลอดปกติ ตำแหน่งของเสียงFHSจะเคลื่อนตำแหน่งลงมาและเบนเข้าหากึ่งกลางลำตัว
การติดตามความก้าวหน้าโดยตรวจทางช่องคลอด
1.Cervix dilate เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือไม่ยึดตามเกณฑ์ของFriedman
2.Effacement ความบางมดลูก
3.Station การเคลื่อนต่ำของส่วนนำใช้ระดับIschial spiine
4.Membrane
5.การหมุนศีรษะเด็ก
การตรวจทางช่องคลอดและการทางทวารหนัก
อาการแสดงที่เข้าสู่ระยะที่2ของการคลอด มี2ลักษณะ
2.Positive sign คลำไม่พบขอบของปากมดลูก คือปากมดลูกเปิดหมด10ซม.
1.Probable เช่นอยากเบ่งคลอด อยากอุจจาระและปัสสาวะ เลือดสดออกช่องคลอดเล็กน้อน
จัดทำโดยนางสาวสุชัญญา วงศ์จันทร์ เลขที่135 ชั้นปีที่2 รหัสนักศึกษา612401138
การประเมินสภาวะผู้คลอดในระยะแรกรับ
การซักประวัติ
1.ประวัติตั้งครรภ์และคลอดครั้งก่อน
2.ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
3.ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบันซึ่งมีผลต่อการคลอดเช่น อายุ
4.อาการผิดปกติต่างๆที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์เช่น PIH โละหิตจาง เบาหวาน
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
ลักษณะที่แสดงออกทั่วไป ความดันโลหิต อาการบวม
การตรวจร่างกายเฉพาะที่
1.ตรวจหน้าท้องหรือตรวจครรภ์
การดู การฟัง การคลำ
การดู (Inspection)
1.ดูขนาดหน้าท้องใหญ่ผิกปกติหรือไม่
2.ลักษณะทั่วไปของท้อง ท้องหย่อนหรือไม่
3.สีผิวหน้าท้อง
4.ลักษณะของมดลูกโตตามขวางหรือยาว
การคลำ = เพื่อตรวจสภาพลักษณะของทารกในครรภ์ว่าอยู่ท่าใด
การฟัง
-ฟังเมื่ออายุครรภ์20 week
-ตรวจดูว่าทารกมีชีวิตอยู่หรือไม่
-วินิจฉัยการตั้งครรภ์แฝด
-วินิจฉัยส่วนนำและท่าของเด็กในครรภ์
อัตราการเต้นของหัวใจปกติอยู่ในช่วง 120-160ครั้ง/นาที
2.อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
(การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและช่องคลอด)
1.บวมของvulva
3.Skin lesionหรือ condyloma accuminata(หูดหงอนไก่)
4.การมีเส้นเลือดขอด
2.มีมูกเลือด (Show)หรือเลือด(Bleeding
5.มีVulva gaping
6.ลักษณะน้ำหล่อเด็กที่ไหลออกมาเป็นอย่างไร
3.ช่องคลอด
การตรวจภายในช่องคลอด
สิ่งที่ต้องตรวจ
1.ตรวจสภาพช่องคลอด
2.ตรวจสภาพปากมดลูก
ความหนาของปากมมดลูก
การถ่างขยายของปากมดลูก
3.ตรวจสภาพถุงน้ำทูน
4.ตรวจหาส่วนนำ
5.ขนาดของmolding
6.การตรวจสภาพของช่องเชิงกราน
7.สิ่งผิดปกติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ตรวจปัสสาวะ หาน้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะ