Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ - Coggle Diagram
บทที่3 หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ
1.การบริหารงานบุคคล
การบริหารงานบุคคล(Personnel Menagement)
: เป็นกระบวนการเพื่อหากำลังคนที่เหมาะสมกับงาน ให้งานเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามเป้าหมาย
ความสำคัญ
: เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของงาน บุคคลสามารถเรียนรู้และมีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาตัวเองให้เหมาะสมกับงานด้วย
วัตถุประสงค์
:
1.เพื่อสรรหาและเลือกสรร(recruitment and selection) ให้เหมาะสมกับงาน
2.เพื่อใช้ประโยชน์ (utilization) เต็มกำลังในการทำงาน
3.เพื่อรักษาไว้(maintenance)ให้บุคคลทำงานนานๆ
4.เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี(relationships)
5.เพื่อพัฒนาทักษะและเสริมสร้างความสามารถของบุคลากรให้มีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง(development)
หลักการบริหารงานบุคคล
1.ระบบคุณธรรม(merit system)
เป็นที่นิยม เพื่อขจัดระบบอุปถัมภ์ ใช้เกณฑ์4ประการ 1)หลักวาเสมอภาค 2)หลักความสามารถ 3)หลักความมั่นคง 4)หลักการเป็นกลางทางการเมือง
2.ระบบอุปถัมภ์(patronage System)
ตรงข้ามกับคุณธรรมยึดพวกพ้อง เครือญาติ
การสรรหาบุคคล
2.สรรหาจากหน่วยงานเดียวกัน
1.สรรหาจากภายนอก
ขั้นตอนการบริหารงานบุคคล
1.การสรรหาและการคัดเลือก : คัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมที่สุด
ขั้นตอนการสรรหา
1.กำหนดนโยบาย 2.กำหนดแหล่งสรรพาบุคลากร
หลักการคัดเลือก
1.ค.เท่าเทียม(equity) ใช้ระบบคุณธรรม
2.มีประสิทธิภาพ(effective selection) ใบสมัคร
2.การพัฒนาบุคลากร : พัฒนาเพิ่มพูนความรู้ ความชำนาญ
พัฒนาบุคลากร
1.ฝึกอบรมด้านความรู้(knowledge) 2.ฝึกอบรมด้านเทคนิค(technical) 3.ฝึกอบรมด้านมนุษยสัมพันธ์(human) 4.ฝึกอบรมด้านความความคิด(conceptual)
ประเภทการฝึกอบรม
1.ก่อนเข้าทำงาน : ฝึก elective 2.ปฐมนิเทศ : ต้อนรับ/แนะนำ 3.เพื่อพัฒนาทักษะ : on the job training 4.ก้าวหน้าในวิชาชีพ : ศึกษาต่อ
3.ธำรงรักษาบุคลากร
1.ประเมินผลการปฏิบัติงาน ปริมาณ+คุณภาพ
2.ประเมินลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน
4.ประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพิจารณา
1.ประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.ประเมินลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการประเมิน
1.กำหนดวัตถุประสงค์ 2.กำหนดแบบและลักษณะของงานที่จะประเมิน 3.กำหนดผู้ประเมิน+การอบรมผู้ประเมิน 4.กำหนดวิธี
วิธีการประเมิน
1.ก.ให้คะแนนตามมาตราส่วน 2.กาารประเมินตามค่าคะแนน 3.การประเมินผลที่เน้นผลการปฏิบัติงาน
2.การบริหารพัสดุ
พัสดุ
หมายความว่า วัสดุครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
วัสดุ
หมายถึง สิ่งของที่ไม่คงทนถาวรใช้แล้วหมดไป
ครุภัณฑ์
หมายถึง สิ่งของที่คงทนถาวรมีอายุการใช้งานยาวนาน
วัตถุประสงค์การบริหารพัสดุ
เพื่อควบคุมการใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
เพื่อจัดหาพัสดุให้เพียงพอต่อการใช้อยู่ตลอดเวลา
เพื่อประหยัดงบประมาณหรือเงินบ ารุงในการจัดซื้อพัสดุ
ง่ายต่อการตรวจสอบ ป้องกันทุจริต
ขั้นตอนการบริหารพัสดุ
1.วางแผน / กำหนดโครงการ 2.กำหนดความต้องการ 3.จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง 4.การแจกจ่าย 5.การบำรุงรักษา 6.การจำหน่าย
3.การบริหารงบประมาณ (Budget)
คือ การวางแผนความต้องการด้านการเงินไว้ล่วงหน้า ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
มาตรฐานการจัดการทางการเงิน
1)การวางแผนงบประมาณเริ่มจากการกำหนดแผนของหน่วยงาน ระยะกลาง 3ปี 2)การกำหนดผลผลิตและการคำนวณต้นทุน 3)การจัดระบบการจัดซื้อ จัดจ้าง 4)การบริหารทางการเงิน ควบคุมงบประมาณ 5)การรายงานทางการเงิน ผลการดำเนินงาน 6)การบริหารสินทรัพย์ 7)การตรวจสอบภายใน (Internal Audit)
ความสำคัญและประโยชน์ของงบประมาณ
1.การบริหารหน่วยงานตามแผนงานและกำลังเงิน เพื่อป้องกันการรั่วไหลและการปฏิบัติงานที่ไม่จำเป็น
2.พัฒนาหน่วยงาน ถ้าใช้ได้ถูกต้องเหมาะสมก็จะเกิดประสิทธิภาพ ความเจริญก้าวหน้าของหน่วยงาน
3.จัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้มีประสิทธิภาพ เพื่อที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เร็วที่สุด ใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด
4.กระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เป็นธรรม
5.ประชาสัมพันธ์งานและผลงานของหน่วยงาน แสดงถึงงานต่างๆที่ทำเพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
บทบาทของผู้บริหาร
1.ตระหนักและเห็นความสำคัญของงบประมาณ บริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ
2.จัดองค์กรและวางแผนการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับงบประมาณที่เป็นอยู่
3.จัดบุคลากร ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานงบประมาณ
4.ผู้จัดเครื่องมืออุปกรณ์ที่จำเป็นในการบริหารงานงบประมาณไว้ครบถ้วน
บทบาทของบุคลากร
1.ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณต้องรู้จักเข้าใจบทบาทและอำนาจหน้าที่
2.ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ ต้องจัดอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลสูงสุด เพื่อเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
บทบาทขององค์กร
1.จัดระบบงานและองค์กรให้มีสายการบังคับบัญชาในองค์กรที่แน่นอนพร้อมทั้งมอบอำนาจและความรับผิดชอบให้ไว้เพื่อให้งานงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
2.จัดให้มีการประสานงานกับในหน่วยงานขององค์กร
3.จัดให้มีองค์กรกลางเป็นศูนย์รวมข้อมูลงบประมาณขององค์กร เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผน
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)
คือ การจัดการกับเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์การ
เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเหมาะสม องค์การได้รับผลดี และลดผลกระทบ
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลง
1.การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก (Proactive) เปลี่ยนแปลงตนเองก่อนที่จะได้รับจากผู้อื่น ต้องอาศัยการวิเคราะห์สถานการณ์ และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
2.การเปลี่ยนแปลงเชิงรับ (Reactive) ถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่นตัวเองไม่ยอมที่จะเปลี่ยนแปลง มีความไม่เหมาะสมกับสภาวะการณ์ในปัจจุบันและ
ความสำคัญของการบริหารการเปลี่ยนแปลง
1.องค์การที่มีการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี ปรับตัวได้ทันกับปัญหาและสภาพแวดล้อม
2.การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี ช่วยให้องค์การเห็นโอกาสและภัยต่างๆสามารถปรับการดำเนินงานเพื่อคว้าโอกาส ลดการเกิดภัย
3.การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดีจะช่วยให้การดำเนินงานขององค์การเป็นไปโดยราบรื่น
4.การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี ไม่วุ่นวาย
5.การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี จะช่วยให้องค์การปรับปรุงต่อเนื่อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
แรงต่อต้าน
การต่อต้านการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้น
แรงเสริม
ปัจจัยที่เป็นแรงเสริมที่ช่วยผลักดันการเปลี่ยนแปลงในองค์การได้