Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุุตรยาก (Infertility) - Coggle Diagram
ภาวะมีบุุตรยาก (Infertility)
แบบปฐมภูมิ (Primary)
หมายถึง การที่หญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่พยายามแล้วเป็นระยะนานกว่า 12 เดือนหรือ1 ปี
แบบทุติยภูมิ (Secondary)
หมายถึง มีบุตรยากที่หญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อน แต่อาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้ง หรือการคลอด หลังจากนั้นจะไม่มีการตั้งครรภ์อีก เป็นระยะเวลานานกว่า12เดือน
สาเหตุจากฝ่ายหญิง (Female infertility)
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ (ร้อยละ40)
ท่อนำไข่ (30)
Endometriosis หรือ เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (20)
lmmunological ภูมิคุ้มกัน (5)
Other (5)
สาเหตุจากฝ่ายชาย (Male infertility)
Sperm dysfunction พบร้อยละ 80 เช่น เชื้ออสุจิน้อย มีรูปร่างผิดปกติ หรือมีการเคลื่อนไหวน้อย
Sexual factors ร้อยละ 10 เช่น Electile dysfunction Premature dysfunction ฯ
Other พบร้อยละ 10
นอกจากนั้นพบว่า ภาวะทางด้านจิตใจ เช่นความเครียด ความวิตกกังวล เป็นสาเหตุให้เกิดภาวะมีบุตรยากได้
ความสามารถในการมีบุตร
หญิงอายุ 21-25ปี มีบุตรได้สูง
ชายอายุ > 55 ปีขึ้นไป จะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่จะมีคุณภาพดีและแข็งแรงกว่าอสุจิที่สร้างมานาน และมีชีวิตอยู่ในท่อนำไข่ของฝ่ายหญิงได้ 2 วัน
*ดังนั้น ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมคือ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
ประวัติ
-ได้แก่ ประวัติการมีประจำเดือน
-การผ่าตัด
-การแต่งงานและการมีบุตร
-การมีเพศสัมพันธ์
-การคุมกำเนิด
-ลักษณะนิสัยบางประการ
-รูปแบบการดำเนินชีวิต
-ลักษณะนิสัยส่วนตัว
-การได้รับยา รังสี สารเคมี
-การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
เช่น Secondary sex โรคทางอายุรกรรมที่เป็นสาเหตุทำให้มีบุตรยาก
การตรวจต่อมไร้ท่อ (Hypothalamus, Pituitary, Thyroid)
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
-เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด ได้แก่ PV, Wet smear, Culture
-คอมดลูก ได้แก่ PV ดูลักษณะทางกายวิภาค ตรวจมูกคอมดลูก
-ตัวมดลูก ได้แก่ Pv, Hysterosalpingogram, Endometrium biopsy, Hysteroscopy, U/S
-ท่อนำไข่ ได้แก่ CO2 insufflation หรือ Rubin test, Hysterosalpingogram, Laparoscope
การประเมินท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
สาเหตุของภาวะมีบุตรยาก ส่วนใหญ่ของภาวะอุดตันของท่อนำไข่ มักเกิดภายหลัง
การอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไส้ติ่งอักเสบ การทำแท้ง ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram (HSG) การฉัดสารทึบรังสี และเอ็กซ์เรย์
Endoscopy การส่องกล้อง
-การส่องกล้องแบบ Laparoscopy (ตรวจในอุ้งเชิงกราน)
-Hysteroscopy (ตรวจโพรงมดลูก)
-รังไข่ ได้แก่ BBT, Cx mucous, Endometrium biopsy, Serum progesterone
-เยื่อผังผืดในช่องเชิงกราน
-ภูมิต้านทานตัวอสุจิ ได้แก่ PCT (postcoital test)
-เต้านม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ได้แก่ การตวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน ฯ
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
-การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือดที่กึ่งกลางระยะลูเทียล เจาะเพื่อตรวจในช่วงประมาณ1สัปดาห์ก่อนที่ประจำเดือนจะมา
-มากกว่า5 มีการตกไข่
-มากกว่า5ตกไข่ คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติ
-การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูก หรือทำ postcoital test
-การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
-การตรวจการทำงานของอสุจิ
การทำ post coital test
-เพื่อดูมูกที่ปากมดลูกและดูความสามารถของอสุจิ ระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจ ได้แก่ 1-2วันก่อนการตกไข่ โดยมีเพศสัมพันธ์กันหลังจากที่งดมีมาเป็นเวลา 2-3วัน แล้วให้มารับการตรวจประมาณ 9-24 ชั่วโมง
-และดูดจากช่องคอมดลูก และยืดดู หากเป็นช่วงการตกไข่มูกจะใสและยืดได้ยาวก่อนที่จะขาดออกจากกัน
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
-ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
-รูปแบบการดำเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว
-การได้รับยา รังสี สารเคมี
-การมีเพศสัมพันธ์ และความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
-การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด การได้รับการกระทบกระเทือนที่อวัยวะสืบพันธ์ เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป และการตรวจระบบสืบพันธ์ เช่น หนังหุ้มปลายองคชาต ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ ลักษณะรูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ (Varicocele) Hydrocele
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ได้แก่ตรวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน การตรวจน้ำอสุจิ
การตรวจอสุจิ
-งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
-นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1 ชั่วโมงภายหลังที่เก็บได้
-ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
-ไม่แนะนำให้มีการมีเพศสัมพันธ์ก่อน แล้วหลั่งข้างนอกหรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารที่ทำลายอสุจิได้
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง Intra-uterine insemintuon (IUI)
คือการนำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่
วิธีการนี้ไม่เหมาะสมกับผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีผังผืดขวางทางเข้าท่อนำไข่ ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น มีจำนวนน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ หรือมีปัญหาอื่นๆ
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร (assisted reproductive technologies: ART)
การกระตุ้นการตกไข่ -โดยการให้ GnRH เป็นระยะ
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (Assisted Reproductive Technology หรือ ART)
GIFT (Gamete Intrafallopian Transfer) คือการนำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ท่อนำไข่ หลังจากกระตุ้นไข่เพื่อชักนำให้ไข่สุกหลายใบ
ZIFT (Zygote Intrafallopian Transfer) คล้ายกับการทำเด็กหลอดแก้ว แต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถูกนำมาผสมกัน และเพาะเลี้ยง1วัน ถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิแล้วใส่ตัวอ่อนเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้อง ใส่ไปในท่อนำไข่
IVF (In Vitro Fertilization) คือการปฏิสนธินอกร่างกาย และการย้ายตัวอ่อนหรือทั่วๆไป เรียกว่าเด็กหลอดแก้ว จะทำคล้ายกับ GIFT -การเก็บไข่ โดยแทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรง เห็นได้จากอัลตราซาวด์ หรือผ่านทางหน้าท้องไปที่รังไข่ -การเก็บสเปิร์ม โดยการหลั่งภายนอก (masturbation) เลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น
Micromanipulation
คือ วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก ซึ่งมักจะมีปัญหาทางด้านเชื้ออสุจิจำนวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว เป็นต้น
ICIS
อิ๊กซี่ (Intracytoplasmic Dperm Injection; ICSI) คือการฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง ซึ่งทำภายใต้กล้องขยายกำลังสูง **เหมาะสำหรับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ
-ดังนั้นอิ๊กซี่เป็นวิธีที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหา **จำนวนอสุจิน้อยมาก หรืออสุจิมีโครงสร้างผิดปกติมาก
การที่คู่สมรสไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ได้ โดยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอ และไม่ได้คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา 1 ปี หรือระยะเวลา 6 เดือนในกรณีที่คู่สมรสฝ่ายหญิงมีอายุเกิน 35 ปีขึ้นไป