Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์,…
กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความสัมพันธ์ของบุคคล
แบ่งออกเป็น
สัญญา
การตกลงด้วยความสมัครใจระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่่ายขึ้นไปโดยเจตนาจะต้องถูกต้องตรงกัน
ละเมิด
องค์ประกอบ
2.กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
เจตนาฆ่า
เจตนาทำร้ายร่างกาย
3.ทำให้บุคคลอื่นเสียหายซึ่งอาจเป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อร่างกายหรือทรัพย์สินก็ได้
กระทำโดยบุคคลอื่นโดยผิดต่อกฎหมายด้วยการฝ่าฝืน
การชดเชยค่าเสียหาย
กรณีสินทรัพย์เสียหาย
ป.พ.พ มาตรา 438 วรรคสอง ค่าสินไหมทดแทน
การคืนสินทรัพย์ที่ผู้เสียหายสูญเสียไปเพราะการละเมิด
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
ป.พ.พ. มาตรา 443 ค่าสินไหมทดแทน
ที่จะต้องชดใช้ให้กับทายาท
1.ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็น
ค่าธรรมเนียมวัด
ค่าโลงศพ
ค่าบำเพ็ญกุศล
2.ค่าขาดไร้อุปการะเลี้ยงดู
3.ค่าขาดแรงงาน
4.ค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ก่อนตาย
การชดใช้ค่าเสียหายจากการกระทำละเมิดให้กับผู้เสียหายตามกฎหมายแพ่ง เรียกว่า ค่าสินไหมทดแทน
กรณีผู้เสียชีวิตไม่ถึงแก่ความตาย เพียงแต่ได้รับอันตรายแก่กาย
2.ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
3.ค่าสูญเสียความสามารถในการประกอบอาชีพ
1.ค่ารักษาพยาบาลอันจำเป็นแก่อาการ
4.ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน เรียก ค่าทำขวัญ
ตาม ป.พ.พ.มาตรา 446 คือค่าเสียหายเฉพาะตัวผู้เสียหายเท่านั้น
การกระทำหรืองดเว้นการกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิต อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน
ผู้ร่วมรับผิดในการกระทำละเมิด
นายจ้างกับลูกจ้าง
ป.พ.พ.มาตรา425
นายจ้างต้องรับผิดชอบกับลูกจ้างในผลของละเมิดที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติของลูกจ้างในทางการจ้าง
ครูอาจารย์กับผู้ที่อยู่ในความดูแลของตน
ป.พ.พ.430
ตัวการร่วมรับผิดชอบกับตัวแทน
ป.พ.พ.มาตรา427
กฎหมายกำหนดให้ตัวการรับผิดต่อผลการกระทำของตัวแทนของตัวแทนซึ่งได้รับมอบหมายจากตัวการ
การร่วมกันทำละเมิด
ถ้าบุคคลหลายคนก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นบุคคลเหล่านั้นจะต้องร่วมกันรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น
ป.พ.พ.มาตรา432
หลักสำคัญที่ถือว่าเป็นการละเมิด
2.กระทำโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ
3.ทำให้บุคคลอื่นเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิ
1.กระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
4.ผู้กระทำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
นิติกรรม
องค์ประกอบ
1.มีการกระทำ
การบอกกล่าวด้วยวาจาเป็นลายลักษณ์อักษร
กระทำสัญลักษณ์
2.การกระทำนั้นโดยชอบด้วยกฎหมาย
แบ่งเป็น
นิติกรรมฝ่ายเดียว
การทำพินัยกรรม
นิติกรรมสองฝ่าย
แสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป
ฝ่ายหนึ่งเสนอ อีกฝ่ายสนอง
สัญญาว่าจ้าง
สัญญาซื้อขาย
การกระทำของบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมายและสมัครใจมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์เพื่อก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
บุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าหย่อนความสามารถในการกระทำนิติกรรม
คนไร้ความสามารถ
ศาลสั่งให้คู่สมรส บุพการี หรือผู้สืบสันดานเป็นผู้ทำนิติกรรมแทน
คนวิกลจริต
คนเสมือนไร้ความสามารถ
ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ
ติดสุรายาเมา
กายพิการหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
ผู้เยาว์ บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ มีอายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์
สภาพบังคับของกฎหมาย
2.โมฆียกรรม
นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ในขณะที่ทำ
องค์ประกอบที่ทำให้นิติกรรมเป็นโมฆียกรรม
2.นิติกรรมทำขึ้นโดยคู่สัญญาหย่อนความสามารถในการทำนิติกรรม
1.นิติกรรมที่ทำขึ้นโดยสำคัญผิดในคุณสมบัติ
ทำสัญญาว่าจ้างแพทย์ผ่าตัดเปลี่ยนไตโดยสำคัญผิดคิดว่าเป็นผู้ป่วยโรคไต
3.การบังคับชำระหนี้
บังคับชำระด้วยเงินหรือส่งมอบทรัพย์สิน
1.โมฆะกรรม
องค์ประกอบที่ทำให้นิติกรรมเป็นโมฆะกรรม
เป็นการพ้นวิสัย
ทำสัญญาชุบชีวิตคนตายให้ฟื้นกลับมา
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
ตกลงให้ยาแก่ผู้ป่วยโรคเอดส์ระยะรุนแรงให้ตาย
ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
ทำสัญญารับจ้างฆ่าคน
4.การชดใช้ค่าเสียหาย
ความรับผิดทางแพ่ง
ความรับผิดตามสัญญา
เป็นความตกลงด้วยในสมัครระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปว่าจะกระทำหรืองดเว้นกระทำกี่อันชอบด้วยกฎหมาย
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำรวมถึงการงดเว้นที่ทำให้เกิดความเสียหายแกชีวิตอนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
วิชาชีพการพยาบาลเป็นวิชาชีพหนึ่งที่มีความจำเป็นต่อสังคมพยาบาลต้องปฏิบัติงานช่วยแพทย์ในการบำบัดโรคเพื่อตอบสนองความต้องการด้านบริการสุขภาพอนามัยโอกาสที่จะปฏิบัติเกินขอบเขตที่กฎหมายวิชาชีพกำหนดมีพยาบาลจึงจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งจะช่วยให้การปฏิบัติงานในวิชาชีพเกิดความปลอดภัยภัยทั้งผู้รับบริการและผู้ประกอบวิชาชีพ
ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการรับมอบหมายให้
ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
1.ผู้ที่กระทรวง ทบวง กรมมอบหมายให้ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ต้องเป็นบุคคลซึ่งระเบียบนี้กำหนด
4.ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งทำการประกอบวิชาชีพเวรกรรมได้และกระทำการด้านการวางแผนครอบครัวได้
7.ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลซึ่งได้ผ่านการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอดผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอดหรือใส่และถอดยาฝังคุมกำเนิดได้
8.ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลวึ่งได้รับประกาศนียบัตรการศึกษาหรือการอบรมในหลักสูตรวิสัญญีพยาบาลจากกระทรวง ทบวง กรม ทำการให้ยาสลบชนิด GAได้
9.ให้บุคคลซึ่งได้ผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ทำการประกอบวิชาชีพได้
10.ให้บุคคลซึ่งได้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรการผดุงครรภ์โบราณของกระทรวงสาธารณสุขทำการรับฝากครรภ์และทำการรับฝากครรภ์
11.อสม.ซึ่งได้ผ่านการอบรมทำการประกอบวิชาชีพได้
12.ให้อาสาสมัครของสมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยหรืออาสาสมัครของสมาคมพัฒนาประชากรทำการจ่ายยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีตราของสมาคมประทับที่แผงยาได้
6.ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งและชั้นสองและกระทำการใส่และถอดห่วงอนามัยได้
5.ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งทำการประกอบวิชาชีพเวรกรรมได้ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นสอง ผู้มีวุฒิประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาลหรือประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวชทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
13.ให้บุคคลที่ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมวิชาชีพเวชกรรมกระทรวงทบวง กรม ตามกฎหมายว่าด้วยยา
3.บุคคลที่สามารถทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
ผู้ช่วยพยาบาลและผดุงครรภ์และจิตเวช
พนักงานสุขภาพชุมชน
เจ้าพนักงานสาธารณสุข
(อสม.)
พนักงานอนามัย
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง
มีรายละเอียดดังนี้
การรักษาพยาบาลอื่น
การให้น้ำเกลือในผู้ป่วยท้องเดินอย่างรุนแรง
การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู
การสวนปัสสาวะ
ด้านศัลยกรรม
ผ่าฝี
เย็บบาดแผลที่ไม่สาหัส
ด้านอายุรกรรม
ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ปวดเอว
การอักเสบต่างๆ
ไข้จับสั่น
โรคขาดสารอาหาร
ผื่นแดง
โรคผิวหนัง
ไข้ ตัวร้อน
ด้านสูตินรีเวชกรรม
ทำการช่วยเหลือขั้นต้นในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
ทำการช่วยเหลือในกรณี
การทำแท้ง
หลังทำแท้งแล้ว
ทำคลอดในรายปกติ
การวางแผนครอบครัว
ผู้สำเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์
2.บุคคลซึ่งได้รับมอบหมาย จะทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้เฉพาะ
บุคคลต้องอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
เพื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์
กฎหมายแพ่ง(Civil Law)ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลต้องมีความสัมพันธ์กับทุกคนอันได้แก่ ผู้ป่วย ครอบครัวชุมชน
การปฏิบัติการพยาบาลในบางครั้งอาจทำให้เกิดความเสียหายต่อร่างกายหรือทรัพย์สินก่อให้เกิดการเรียกร้องค่าเสียหายได้
พยาบาลจึงจำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ลักษณะกฎหมาย
เป็นกฎหมายเอกชนที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน
เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกคน
โดยที่ความเสียหายในทางแพ่งจะมีผลกระทบต่อบุคคลที่เป็นคู่กรณีเท่านั้น
ประชาชนมีอิสระในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างกันเองภายในกรอบของกฎหมาย
Civil Law :When a nurse's professional negligence rises to the level of reckless disregard for human life (a legal standard of conduct),the nurse may face criminal charges of negligent homicide or manslaughter.Each charge is defined in the state criminal status and requires certain elements the state must prove.
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ให้การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับ
บาดแผลสด
น้ำร้อนลวก
กระดูกหัก
ไฟไหม้
ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
เพื่อบรรเทาอาการหรือโรคดังต่อไปนี้
ไข้มีผื่น
ปวดศีรษะ
ไข้ ตัวร้อน
ปวดเมื่อย
ท้องผูก
ท้องเดิน
เจาะโลหิตเพื่อตรวจหาเชื้อไข้จับสั่น
ใช้ยาดังต่อไปนี้
3.2 ยาที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมสั่งให้จ่ายให้แก่คนไข้เฉพาะราย
3.3 ยาสมุนไพรที่กำหนดในแบบเรียนด้วยตนเองของกระทรวงสาธารณสุขในงานสาธารณสุขมูลฐาน
3.1 ยาสามัญประจำบ้านตามกฎหมายว่าด้วยยา
ความหมายของอายุความ
ถ้ามิได้ใช้สิทธิเรียกร้องภายในระยะเวลานั้นสิทธิเรียกร้องนั้นย่อมถูกโต้แย้งอันเป็นเหตุให้ศาลยกฟ้องได้
เรียกว่า สิทธิแห่งการเรียกร้องนั้นขาดอายุความ
ระยะเวลาของกฎหมายที่กำหนดไว้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องสิทธิภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
นางสาวนวรัตน์ ร้อยอำแพง รุ่นที่ 36/1 เลขที่ 57 รหัสนักศึกษา612001058
แหล่งที่มา:พรจันทร์ สุวรรณชาต.(2559).จริยธรรมและกฎหมายในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2563 จาก,
http://www.natne.or.th/images/01_Event/18112559/002.pdf
เนธิภัททิก์ เสฏฐิตานันท์.(2559).กฎหมายและจริยธรรมผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล.สืบค้นเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2563 จาก,
http://www.phraehospital.go.th/ph11/download/law_nurse_2559.pdf
จินตนา สุวิทวัส.(2561). พยาบาลกับการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพของผู้รับบริการ.วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ.2561.(3),151-155. file:///C:/Users/Lenovo/Downloads/160819-Article%20Text-444732-1-10-20181218.pdf
พนมพร ศิลาพันธ.(2561).นโยบายสิทธิผู้ป่วย.สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พ.ค.2563 จาก,
http://wachira.ppho.go.th/web_wachira/knowledge_file/20180516152452_16.pdf
ทัศนา บุญทอง.(2562).ข้อบังคับสภาการพยาบาล.สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2563 จาก,
https://www.tnmc.or.th/images/userfiles/files/T_0029.PDF
Alene Burke.(2020). ethical practice: NCLEX-RN. Retrieved 2 June 2020 from,
https://www.registerednursing.org/nclex/ethical-practice/
Lisa M.(2020). Nursing Ethics considerations. Retrieved2 June 2020 from,
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK526054/
ECPT BLOG.(2020). Nursing low and ethics. Retrieved 2 June 2020 from,
https://www.ecpi.edu/blog/nursing-laws-and-ethics-what-will-i-need-to-follow-to-become-a-nurse