Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง วิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ 2, เข็มทราย มุมทอง…
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง
วิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ 2
การประเมินผู้ป่วยโรคหัวใจ
การซักประวัติ
ข้อมูลส่วนตัว อายุ เพศ อาชีพ ฯลฯ
อาการสำคัญ ส่วนใหญ่มาด้วยอาการเจ็บหน้าอก เหนื่อยหอบ
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
แบบแผนการดำเนินชีวิต เช่น การออกกำลังกาย รับประทานอาหาร บุหรี่ และสุรา เป็นต้น
ประวัติการได้รับยา
ประวัติครอบครัว
การตรวจร่างกาย
ดู (Inspection)ดูลักษณะการหายใจ อาการเหนื่อยหอบ ภาวะเขียว (Cyanosis) อาการบวม
ฟัง (Auscultation) เพื่อตรวจจังหวะ ความแรง และเสียงผิดปกติ
Murmur
Gallop
Friction rub
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือด (CBC), ESR
การทดสอบการแข็งตัวของเลือด ได้แก่ PT, PTT
BUN, Cr
Serum cholesterol
Cardiac enzyme เช่น Troponin T, Troponin I, CK-MB, CPK
Lipid profile
CRP(hsCRP)
การตรวจพิเศษ
การวัดการไหลเวียน (Circulatory time)
การวัดจำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ (cardiac output, EF)
การวัดความดันเลือดแดง
การวัดความดันเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressure)
การตรวจ Phonocardiography เพื่อบันทึกภาพของเสียงหัวใจและความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด
Echocardiogram ตรวจหัวใจด้วยคลื่นความถี่สูง
Electrocardiogram (EKG) เป็นการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจ Exercise test, tilt table test
ภาวะหัวใจวาย (Heart Failure)
สาเหตุ
หัวใจทำงานหนักเกินไป
ความผิดปกติของห้องหัวใจล่างซ้ายจากเหตุต่าง ๆ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ ติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ หรือลิ้นหัวใจถูกทำลาย
หัวใจเต้นผิดปกติ
ระบบไฟฟ้าฟัวใจ
การตรวจร่างกาย
คลำพบ Heaving และ Thrill
เคาะพบตับโต ในกรณีหัวใจข้างขวาวาย
พบตำแหน่ง PMI เปลี่ยนแปลงไป จากหัวใจที่โตขึ้น
Pulse Irregular
เสียงหัวใจเต้นผิดปกติ ฟังพบ S3 Gallop และ Murmur
ฟังปอดพบ Crepitation จากภาวะน้ำท่วมปอด
ท้องบวม
หลอดเลือดที่คอโป่ง
อาการบวมที่ส่วนต่ำของร่างกาย
การประเมินทางห้องปฏิบัติการ
Blood for electrolyte
BUN, Cr และCrCl เพื่อดูการทำงานของไต
Urine analysis
ABG ดูภาวะขาดออกซิเจน และภาวะกรดด่างในเลือด
การตรวจพิเศษ
CXR เพื่อดูรูปร่างและขนาดของหัวใจ
Echocardiogram ประเมินการบีบตัวคลายตัวของหัวใจ
EKG ดูความหนาของห้องหัวใจล่าง
อาการของภาวะหัวใจวาย
หัวใจห้องล่างซ้ายวาย การบีบตัวของหัวใจล่างซ้ายไม่ดี
มีการคั่งของเลือดในปอด รบกวนการทำงานของระบบหายใจ ทำให้มีอาการเนื่อยหอบ หายใจลำบาก
เสมหะเป็นฟองสีชมพู
หายใจมีเสียงวี๊ด ฟังปอดพบ Crepitation ฟังหัวใจ
หัวใจห้องล่างขวาวาย ไม่สามารถบีบเลือดไปที่ปอดได้ ทำให้มีเลือดคั่งอยู่ในระบบไหลเวียน
เลือดดำคั่งในอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายและมีอาการบวมที่แขนขา และท้อง
มักมีหลอดเลือดที่คอโป่ง (JVD)
บวมที่ส่วนล่างของร่างกายทั้ง 2 ข้างกดบุ๋ม
การรักษาและการพยาบาลผู้ป่วยหัวใจวาย
การให้ออกซิเจน
ดูแลให้ยา เพื่อลด Preload และ afterload ของหัวใจ
ยากลุ่ม Digitalis เพื่อ เพิ่มความแรงในการบีบตัวของหัวใจและทำให้หัวใจเต้นช้าลง
ยากลุ่ม เบต้าบล็อคเกอร์ เพื่อระงับการหลั่ง Stress hormone ลดการเต้นของหัวใจ
ACEI ให้เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือด
ยาขับปัสสาวะ (Diuretic)ลดอาการบวม
การให้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ ยากลุ่มไนโตรกลีเซอรีนและไนเตรต
การบำบัดด้วยยาขยายหลอดเลือดแดง เช่น โซเดียมไนโตรปรัสไซด์
การปรับพฤติกรรม ได้แก่ การจำกัดน้ำ
การบำบัดด้วยเครื่องมือ เช่น ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ
หัตถการเกี่ยวกับหัวใจ
การสวนหัวใจ
การพยาบาลก่อนทำการสวนหัวใจ
เจาะเลือด x ray หัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ต้องงดน้ำและอาหารหลังเที่ยงคืน
ยาละลายลิ่มเลือด wafarin, coumarin ต้องงดยาก่อน
การพยาบาลหลังทำ
นอนราบประมาณ8 ชั่วโมง
ต้องกดแรงและนานอย่างน้อย 30 นาทีบริเวณที่ถอดสายสวนไว้เพื่อป้องกันไม่ให้เลือดออก
ควรจะรับประทานอาหารที่เป็นน้ำ
Coronary artery bypass graft
การรักษาพยาบาลก่อนทำ
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ให้ยา sedative ทางปากหรือหลอดเลือดดำ
ให้ยาระงับความรู้สึก GA
ใส่ท่อช่วยหายใจ
สวนปัสสาวะค้าง
ขณะผ่าตัด CABG
เปิดช่องอก sternum และ rib
ใช้เครื่องช่วยพยุงการทำงานของหัวใจและปอด
นำเส้นเลือดที่เหมาะสมมาตัดต่อเป็น Bypass
เมื่อเสร็จสิ้นใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจให้ทำงานต่อ
การพยาบาลหลังทำ CABG
ย้ายเข้า ICU
ติดตามการทำงานของหัวใจตลอดเวลา
Controlled heart rate และ hemodynamic
ดูแลสาย Chest tube
ดูแลทางเดินหายใจ และทางเดินปัสสาวะ
หลอดเลือดโป่งพอง
อาการ
คลำก้อนได้ที่หน้าท้องใต้ลิ้นปี่
ปวดท้องเรื้อรัง
มีก้อนเต้นที่ท้องสัมพันธ์กับชีพจร
การรักษา
แน่นหน้าอก ปวดหลัง หน้ามืด เป็นลมหรือไอเป็นเลือดให้ระวังการปริแตกของ Anuerysm ผู้ป่วยที่มาด้วยก้อนแตก ต้องผ่าตัดโดยด่วน มีอัตราการตายสูง
Aneurysm เป็นภาวะที่ผนังหลอดเลือดแดงหรือดำอ่อนแอ รือการสะสมของไขมัน ทำให้ผนังหลอดเลือดบริเวณนั้นโป่งตึงรูปร่างคล้ายถุง
การพยาบาล
ควบคุมความดันโลหิต
งดบุหรี่
หลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย
ดูแลก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด หลังผ่าตัดซ่อมแซมเส้นเลือดระมัดระวังไม่ให้หัวใจและเส้นเลือดแดงใหญ่ทำงานหนัก
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
ลิ้นหัวใจไมตรัลตีบ
สาเหตุ
ไข้รูมาติกเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด การติดเชื้อรูมาติกในวัยเด็ก
อาการ
เหนื่อยล้า หายใจลำบากเวลาออกแรง นอนราบไม่ได้ หอบเหนื่อยกลางคืน ไอเป็นเลือด ตับโต ขาบวมกดบุ๋ม Atria fibrillation เขียว และ murmur
การรักษา/พยาบาล
การใช้ยา ได้แก่ยาขับปัสสาวะและควบคุมโซเดียม
.การผ่าตัด ขยายลิ้นหัวใจ
การปรับพฤติกรรม ควบคุมอาหาร จำกัดเกลือ งดบุหรี่ สุรา การทำฟัน
ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว
สาเหตุ
การติดเชื้อ
การที่มีการเสื่อมของเนื้อเยื่อ ลิ้นหัวใจฉีกจากโรคบางโรค
การขยายตัวของหัวใจห้องล่าง
อาการ
หายใจลำบากขณะมีกิจกรรม
ใจสั่น นอนราบไม่ได้
วมกดบุ๋ม
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
อ่อนเพลียมาก
การรักษา/พยาบาล
ระยะไม่มีอาการ ถ้าเกิดจากไข้รูมาติก ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการกลับเป็นซ้ำ จำกัดกิจกรรม จำกัดเกลือและน้ำ
ล็กน้อยถึงปานกลาง ให้ยาขับปัสสาวะ digitalis ยาขยายหลอดเลือด ยากลุ่มไนเตรท, ACEI จำกัดเกลือ, แก้ไขภาวะหัวใจล้มเหลว
ระยะรุนแรง มักรักษาโดยการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจเอออร์ตาตีบ
สาเหตุ
ลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
ความเสื่อมของลิ้นหัวใจจากหินปูนเกาะลิ้นหัวใจเมื่ออายุสูงขึ้น
ติดเชื้อลิ้นหัวใจ หรือเป็นไข้รูมาติค
อาการ
เจ็บหน้าอกแบบ Angina
หายใจลำบาก
มดสติเมื่อออกแรง อ่อนเพลีย
นอนราบไม่ได้ มีเหนื่อยหอบกลางคืน เสียงหัวใจผิดปกติแบบ Harsh Crescendo-decrescendo
การรักษา/พยาบาล
ระยะแรกรักษาตามอาการ โดยให้ยาและปรับพฤติกรรม
ในระยะรุนแรง การผ่าตัดเป็นการรักษาที่ดีที่สุด
ลิ้นหัวใจเอออร์ตารั่ว
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
การติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจและหัวใจ
ส่วนใหญ่เกิดจากไข้รูมาติค เชื้อแบคทีเรีย หรือ ซิฟิลิส
เวนตริเคิลซ้ายมีการปรับตัว โดยการขยายห้องหัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจ ทำให้ความตึงตัวผนังหัวใจเพิ่มขึ้น เวนตริเคิลซ้ายจึงหนาตัวขึ้น
อาการ
ใจสั่น หายใจลำบาก
นอนราบไม่ได้ หายใจเหนื่อยตอนกลางคืน
มีอาการเจ็บหน้าอก Angina หัวใจเต้นเร็ว มีเสียงฟู่แบบ Decrescendo ช่วงหัวใจคลายตัว
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
สาเหตุ
ติดเชื้อ
ปฏิกิริยาออโต้อิมมูนของร่างกาย
การได้รับบาดเจ็บ
สารพิษ (Toxic agent)
การได้รับรังสี
สารเคมี
อาการ
ฟังหัวใจได้ยินเสียง rub หรือ Grating sound
หัวใจเต้นเร็ว
หนาวสั่น
ใจสั่น
เจ็บหน้าอก
หายใจลําบาก อ่อนล้า
ไข้
การรักษา
การใช้ยา NSAID, cochicin
การระบาย (Drainage)
การดูแลระบบไหลเวียนเลือดเพื่อเพิ่มCardiacoutput
การพยาบาล
1.ประเมินความผิดปกติระบบไหลเวียน
2.การดูแลระบบไหลเวียนเลือด
3.ให้นํ้าเกลือเพื่อเพิ่มปริมาตรเลือด
4.ดูแลให้ยากระตุ้นหัวใจ
5.ติดตามวัดประเมินความดันโลหิตดํา ชีพจร
6.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
สาเหตุ
เสียหายจากเชื้อโรคเช่น เชื้อไวรัส ได้แก่ Coxackiea, Coxackie b,
Influeneae, Admovirws, CMV, EBV เป็นต้น
อาการ
อาการเหมือนไข้หวัดใหญ่
เจ็บหน้าอก
การรักษา/พยาบาล
1.การช่วยเหลือการทํางานของหัวใจ
การให้ยาคุุ้มกันหรือยาต้านการอับเสบ
3.การให้ยารักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ
การผ่าตัด เช่น การผ่าตัดใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ
เยื่อบุห้องหัวใจอักเสบ
สาเหต
แบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา
อาการ
อ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง
คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร
ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เจ็บ
หน้าอกหายใจลําบาก
การรักษา/การพยาบาล
ให้ยาเพิ่มการบีบรัดตัวของหัวใจ เช่น
Digitalis
ให้ยาขับปัสสาวะ
ให้ยาต้านการติดเชื้อ
ติดตามการทํางานของหัวใจ
ดูแลช่วยเหลือกิจกรรม
ให้ข้อมูลการปฏิบัติตน
การใส่เครื่องกําหนดจังหวะ
การเต้นของหัวใจ
ก่อนใส่เครื่อง
1.ดูแลเหมือนผู้ป่วยรับการผ่าตัด
2.หลังผ่าตัดต้องงดใช้แขนข้างที่ใส่เครื่อง 3 วัน
3.บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ขณะใส่เครื่อง
1.ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจและความดันโลหิต
2.จดบันทึกลักษณะการกระตุนของเครื่อง อัตราเร็ว เก็บคลื่น
ไฟฟ้าหัวใจที่บันทึกไว
3.ติดตามผล Chest X – Ray
หลังใส่เครื่อง
1.ติดตามภาวะหัวใจวาย และ Pneumothorax
2.สังเกตคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
. 3.สังเกตแผลที่ใส่เครื่อง
4.ไม่ให้ผู้ป่วยออกแรงเหยียดแขนข้างที่ใส่เครื่อง
5.อาการคงที่ออกกําลังกายโดยเคลื่อนไหวข้อต่างๆได
สอนผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลตนเองที่บ้าน
เข็มทราย มุมทอง รหัส 612501015