Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด, นางสาวสาวิตรี สุขแย เลขที่ 130 รหัส…
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
การรับใหม่ผู้คลอด
การซักประวัติ
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล
การเจ็บครรภ์ (Labor pain)
การเจ็บครรภ์ (Labor pain)ควรซัก ประวัติแยกให้ได้ว่าเป็นการเจ็บครรภ์จริง (True labor pain) หรือเจ็บครรภ์เตือน (False labor pain) โดย การซักถามจากลักษณะการเจ็บครรภ์ ความถี่ และความรุนแรงของการ เจ็บครรภ์นอกจากนี้ควรถามถึงเวลาที่เริ่มเจ็บจริงว่าเกิดเวลาใด
มูก (Show)
ถามว่ามีอะไรออกมาทางช่องคลอดหรือไม่สิ่งที่ออกมาลักษณะอย่างไร จะได้ทั้งประวัติการมีมูกและน้ำเดิน โดดนถามว่ามีมูกและน้ำเดินเวลาใด ลักษณะเป็นอย่างไร ถ้ามีน้ำเดินก่อนเจ็บครรภ์นานเท่าใด น้ำคร่ำเปียกผ้านุ่งกี่ผืน
มีน้ำเดินหรือถุงน้ำแตก
(Rupture of membranes)
ถามว่ามีหรือไม่มีถ้ามีเกิดขึ้นเมื่อไหร่ลักษณะเป็นอย่างไรจำนวนเท่าไหร่
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติการแท้งการขูดมดลูก
ประวัติภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ประวัติการคลอด
ประวัติของทารก
ประวัติความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อนต่างๆในระยะตั้งครรภ์
ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
ลำดับของการตั้งครภ์
อายุครรภ์
ประวัติภาวะแทรกซ้อนและอาการผิดปกติขณะตั้งครรภ์
ประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม และศัลยกรรมทั้งปัจจุบัน และอดีต
มีประวัติการเจ็บป่วยด้วยโรคใดบ้าง เริ่มเป็นเมื่อไหร่ ได้รับการรักษาหรือไม่อย่างไร ประวัติการติดเชื้อทางเพศสีมพันธ์
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆการผ่าตัด
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆการผ่าตัด
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
โรคหรือความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โรคติดเชื้อต่างๆ
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อ-สกุล อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ศาสนา ฐานะเศรฐกิจ(สิทธิการรักษา) ถิ่นที่อยู่อาศัย
ประวัติด้านจิตสังคม
ประสบการณ์การตั้งครรภ์และการคลอด การวางแผน เจตคติและความรู้ ความคาดหวัง สัมพันธภาพในครอบครัวและการช่วยเหลือสนับสนุนทางสังคม
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
ลักษณะรูปร่าง
หากมีความสูงน้อยกว่า 145 cm มีปัญหาเชิงกรานแคบ ท่าเดินที่ผิดปกติ อาจบอกถึงความผิดปกติบริเวณสะโพกกระดูกสันหลังอาจเสี่ยงต่อการคลอดผิดปกติได้
ลักษณะทั่วไป
ประเมินสภาพของผู้คลอด เช่น อาการซีดจากภาวะโลหิตจาง อาการบวมจากความดันโลหิตสู งการหายใจหอบเหนื่อยทางโรคทางเดินหายใจ
สัญญาณชีพ
ความดันโลหิต อยู่ระดับ 110-120/70-80 mmHg. ถ้าสูงมากกวราหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอทอาจ จะเป็นภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ควรรายงานแพทย์ทราบ
อุณหภูมิถ้าสูงอาจมีการติดเชื้อในร่างกาย หรือขาดน้ำ หากสูงเกิน 37.5 องศาเซลเซียส ควรรายงานแพทย์ทราบ
อัตราชีพจร ถ้ามากกว่า 90 ครั้งต่อนาที เบา เร็ว แสดงว่ามารดาอาจมีการติดเชื้อขาดน้ำอ่อนเพลียเหนื่อยล้าหรือตกเลือดควรตรวจสอบในแน่ชัดอาจ แสดงถึงภาวะ shock
การหายใจ มีอาการหอบ หรือไม่ ซึ่งปกติควรอยู่ระหว่าง 16-20 ครั้ง
อ้วน
เพื่อประเมินภาวะบวมจากความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
หรือภาวะอ้วนถ้าอ้วนมากอาจทำให้คลอดยากทั้งยังมีผลต่อท่าคลอดด้วย
การบวม (Edema)
ประเมินดูว่ามีการบวมตาม ส่วนใดของร่างกายหรือไม่ โดยเฉพาะที่ขา แขนหรือ ใบหน้าถ้ามีอาการบวมอาจเป็นอาการแสดงของโรคไต หัวใจหรือภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
พฤติกรรมการแสดงออกถึงความเจ็บปวด
พฤติกรรมทางกายที่แสดงออกถึงความเจ็บปวดในระยะคลอด ได้แก่ การหายใจเร็ว การเกร็งกล้ามเน้ือ เหงื่ออออกมาก กระสับกระส่าย บิดตัวไปมา ร้องครวญคราง ทุบตีตนเอง เป็นต้น
น้ำหนัก
เพื่อประเมินภาวะบวมจากความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
หรือภาวะอ้วนถ้าอ้วนมากอาจทำให้คลอดยากทั้งยังมีผลต่อท่าคลอดด้วย
ผลการตรวจพิเศษ
ในขณะตั้งครรภ์ ได้แก่นอกจากนี้ตรวจดูผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ผู้ตลอดไดรับการตรวจในระหว่างการตั้งครรภ์ว่ามีความผิดปกติหรือไม่ ได้แก่
ผลการตรวจปัสสาวะ : น้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะ
ผลการตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น ผลการตรวจคลื่นเสียง ความถี่สูง (Ultrasonography) ซึ่งสามารถนำมาประกอบ ในการประมาณอายุครรภ์และทราบความผิดปกติของ ทารกในครรภ์ และผลการตรวจ NST (Non-Stress test) EFM เพื่อทราบภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ เป็นต้น
ผลการตรวจเลือด : Hematocrit (Hct), Hemoglobin (Hb), VDRL, HBsAg และ Anti-HIV
การตรวจร่างกายเฉพาะที่
การฟัง
-เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของระดับยอดมดลูกกับอายุครรภ์
-ส่วนนำทารก ระดับของส่วนนำ ท่าและทรงของทารก
-การเข้าสู่เชิงกรานของส่วนำทารก
-การคาดคะเนน้ำหนักของทารก (EFW = HF x AC) รพ.พะเยา นิยมใช้
-ความสูงของยอดมดลูก เมื่อครรภ์ครบกำหนดคลอดควรอยู่ระหว่าง
33-37 cms เพราะถ้า < 32 cms ทารกมักจะตัวเล็ก แต่ถ้า> 38 cms ทารกจะตัวโต
การคลำ
อัตราการเต้นของหัวใจปกติ
อยู่ระหว่าง110–160 ครั้งต่อนาทีมีจังหวะ
การเต้นสม่ำเสมอ ถ้าอัตราการเต้นของใจทารกน้อยกว่า 110 ครั้งต่อนาทีหรือมากกว่า 160 ครั้งต่อนาที แสดงว่าทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะขาดออกซิเจน (fetal distress) ซึ่งจะต้องรีบให้การช่วยเหลือทารกในครรภ์ต่อไป
ตำแหน่งของเสียงหัวใจทารกท่ีฟังได้จะเปลี่ยนไปตามความก้าวหน้าของการคลอด ถ้าการคลอดก้าวหน้าตาแหน่งเสียงหัวใจทารกจะมีการเคลื่อนต่ำลงมา เรื่อยๆถ้าฟังได้บริเวณเหนือหัวเหน่าแสดงว่าทารกอยู่ในระยะใกล้คลอดแล้ว
การดู
-ขนาดของท้อง
-ลักษณะมดลูกโตตามยาวหรือตามขวาง
-การเคลื่อนไหวของทารก
-ลักษณะท่ัวไปของท้อง
การคาดคะเนน้ำหนักทารกในครรภ์
ตามของ Dare และคณะ(ขจรศิลป์ ผ่องสวัสดิ์กุล,2550)
จากสูตรของจอห์นสัน (Johnson)
ประเมินภาวะขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์
(Fetal distress)
-อัตราการเต้นของหัวใจทารกเร็วมากกว่า160 ครั้ง/นาที
-อัตราการเต้นของหัวใจทารกช้าน้อยกว่า 110ครั้ง/นาที
-มีขี้เทา (Meconium stained amniotic fluid)
-จังหวะการเต้นของหัวใจทารกไม่สม่ำเสมอ
-ตำแหน่งเสียงหัวใจทารกในระยะคลอดจะเปลี่ยนไปตามการดำเนินการคลอดต
การตรวจภายใน
สภาพปากมดลูกมีลักษณะนุ่มหรือแข็ง ยืดขยายได้ง่ายหรือยาก บวมหรือไม่และจะตอ้งตรวจหาสิ่งต่อไปนี้
การเปิดขยายของปากมดลูก(Cervicaldilatation)
ความบางของปากมดลูก (Cervical effacement)
ก.ถ้าความหนาเหลือเพียง1 เซนติเมตรcervical effacementเท่ากับที่ 50%
ข.ถ้าความหนาเหลือเพียง0.5 เซนติเมตรcervical effacementเท่ากับ 75%
ค.ถ้าความหนาเหลือเพียง0.2-0.3เซนติเมตรcervical effacementเท่ากับ 100%
การบวมของปากมดลูก มักพบในผู้คลอดที่เบ่งก่อนเวลา จึงทำให้ปากมดลูกส่วนหน้าถูกกด ระหว่างศีรษะทารกกับช่องทางคลอด ทำให้การไหลเวียนของเลือดไม่สะดวก จึงเกิดการบวมข้ึน ซึ่งส่งผลให้ปากมดลูกยืดขยายได้น้อย
ตำแหน่งของปากมดลูก ในระยะแรกคลอด ปากมดลูกจะอยู่ด้านหลังและค่อยๆเลื่อนมาอยู่ ตรงกลาง และมาอยู่ด้านหน้า เมื่อระยะการคลอดก้าวหน้ามากข้ึน
2.การตรวจหาส่วนนำ
ตรวจหาท่าของทารก(Position) รอยต่อแสกกลาง (Sagittal suture) ว่าอยู่หน้าหลังเฉียง หรือขวางกับแนวดิ่งหรือช่องคลอด
2.1ตรวจว่าเป็นอะไร
-Station
-Plane 👉 High plane 👉Mid plane 👉Low plane
2.2. ดูระดับส่วนนำ
ขม่อม (Fontanel)
เป็นการคลำจากการตรวจดูsagittal sutureขม่อมหลัง(Posterior fontanel)หรือขม่อมหน้า(Anteriorfontanel)ตำแหน่งของมันอยู่หน้าหรือหลังซึ่งจะช่วยบอกท่าของทารก
การตรวจดูสภาพของน้ำทูนหัว (Bag of fore water)
1 Membrane intact (MI) ตรวจพบถุงน้าโป่งแข็งตึง คลำส่วนนำได้ยาก
2 Membrane leakage (ML) ตรวจพบถุงน้ำไม่ค่อยแข็งตึง อาจคลำได้ส่วนหน้า
3 Membrane rupture(MR)คลำส่วนนาได้เช่นเดียวกันแต่พบส่วนนำชัดเจน
การคาดคะเนเวลาการคลอด
ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยาย1cm./hr.(1.2cm./hr.)
ครรภ์หลังปากมดลูกเปิดขยาย1.5cm./hr.
ในใบPartograph จะคิดชั่วโมงละ 1 cm.
ข้อห้ามในการตรวจภายใน
-ผู้คลอดที่มีประวัติเลือดออกระหว่างการตั้งครรภ์หรือกำลังมีเลือดออกโดยไม่ทราบสาเหตุหรือรกเกาะต่ำทุกราย
ส่วนนำทารกยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน(Headfloat)ร่วมกับอายุครรภ์ยังไม่ครบกำหนดคลอด(ยกเว้นในรายที่แพทย์ให้ตรวจ)
เมื่อมองเห็นศีรษะของทารกในครรภ์แล้ว
ในระยะที่มีการอักเสบมากบริเวณทวารหนัก
กรณีที่ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด(Premature rupture of membrane) ควรตรวจเท่าที่จำเป็นเท่าน้ันเพื่อลดการติดเชื้อ
การเตรียมผู้คลอด
การเตรียมผู้คลอดทางด้านจิตใจ
การเตรียมผู้คลอดทางด้านร่างกาย
การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและฝีเย็บ
การสวนอุจจาระ
การทำความสะอาดร่างกาย
จัดให้พักผ่อนในห้องรอคลอดและดูแลอย่างใกล้ชิด
การบันทึกรายงาน
การบันทึกรายงานมีความสำคัญในการให้การพยาบาลทั้งน้ีเพื่อ รวบรวมข้อมูลปัญหา และการพยาบาลที่ผู้คลอดได้รับและผลการ ประเมินซึ่งพยาบาลต้องมีการบันทึกในทุกระยะที่ให้การพยาบาล โดยบันทึกข้อมูลให้ครบตามกระบวนการพยาบาลที่ได้กระทำกับผู้ คลอดรวมถึงการเซ็นต์ยอมรับการรักษา
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
1.การหดรัดตัวของมดลูก
ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
Latent phase
Active phase
Acceleration phase (active ตอนต้น)
Deceleration phase or end of the first stage (active ตอนปลาย)
2. การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินโดยใช้เครื่องอิเล็กโทรนิก
การประเมินโดยการวางฝ่ามือบนยอดมดลูก
3.การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ทารกจะเคลื่อนต่ำลงและมีการหมุนของศีรษะภายในตามกลไกการ
คลอดปกติดี (จากการตรวจภายใน)
ตำแหน่งของเสียงหัวใจทารกจะเคลื่อนต่ำลง และเบนเข้าหาแนวกลางตัวของผู้คลอด
4.การตรวจทางช่องคลอด
ระยะ latent ควรตรวจทุก 4 ชั่วโมง
ระยะ active ควรตรวจทุก 2 ชั่วโมง
5.หลักการประเมินภาวะแทรกซ้อน
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
สายสะดือย้อย
การคลอดยาวนาน การคลอดยาก
ความผิดปกติในการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆท่ีอาจเกิดขึ้น เช่น HT DM Heart เป็นต้น
6.หลักการประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
ลักษณะน้ำคร่ำ
การดิ้นของทารกในครรภ์
การเต้นของหัวใจทารก
การวิเคราะห์เลือดของทารกในครรภ์ (fetal blood analysis)
การบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกโดยใช้เครื่องอิเล็คโทรนิก
ในผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยงต่ำในระยะ latent ควรฟังทุก 1 ชั่วโมง และในระยะ active ควรฟังทุก 30 นาที
ในผู้คลอดทมี่ภาวะเสี่ยงสูงในระยะ latent ควรฟังทุก 30 นาที และในระยะ active ควรฟังทุก 15 นาที ถา้ มีขอ้ บ่งชี้ว่าทารกในครรภ์มีโอกาสได้รับอันตรายควรฟังบ่อยข้ึน
ในผู้คลอดท่ีถุงน้ำคร่ำแตกควรฟังเสียงหัวใจทารกทันทีหลังจากนั้นฟังทุก 5 – 10 นาที โดยเฉพาะในรายท่ีมีภาวะขี้เทาในน้ำคร่ำและรายท่ีส่วนนำยังอยู่สูง ซึ่งอาจมีการพลัดต่ำของสายสะดือทำใหเ้สียงหัวใจทารกผิดปกติได้
7.ลักษณะของน้ำคร่ำ
C = clear liqour draining (น้ำคร่ำใสปกติ)
M = meconium stained liqour draining (น้ำคร่ำมีขี้เทาปน)
B = blood stained (น้ำคร่ำปนเลือด)
A = absent ถุงน้ำแตกแต่ตรวจภายในไม่พบน้ำคร่ำ
8. การดิ้นของทารกในครรภ์
ในภาวะปกติทารกในครรภม์ มีการเคลื่อนไหวอย่างน้อย 10 ครั้งในช่วงระยะเวลา 12 ชั่วโมง
การที่เลือดไปเลี้ยงมดลูกและรกลดลง ทำให้ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ อาจส่งผลให้ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
การบันทึกความก้าวหน้าของการคลอด
Friedman’s curve
ระยะเฉื่อย (Latent phase) ซึ่งเป็นระยะท่ีมีช่วงเวลาประมาณ 8-10 ชั่วโมง โดยนับตั้งแต่เริ่มมีอาการเจ็บครรภ์จริง (True labor) จนกระทั่งถึงระยะที่ปากมดลูกมีการเปิดขยายประมาณ 3 เซนติเมตร
ระยะที่สอง คือ ระยะเร่ง (Active phase) ซึ่งจะมีการเร่ง (Acceleration) การเปิดขยายของปากมดลูกจากประมาณ 3 เซนติเมตร จนถึงปากมดลูกเปิดหมด ซึ่งจะมีขนาดของการเปิดขยายประมาณ 10 เซนติเมตร โดยที่ก่อนปากมดลูกจะเปิดหมดอัตราเร่งของการเปิดขยายของปากมดลูกจะมีการช้าลง (Deceleration) การศึกษาของ Friedman น้ีเป็นพื้นฐานในการศึกษาของแพทย์ผู้อื่นอีกมาก
การบันทึกความก้าวหน้าของการเจ็บครรภ์
ถ้าปากมดลูกเปิดไม่ถึง 3เซนติเมตร(Latentphase)จะต้องมีการหดรัดตัวของมดลูก 2 ครั้งใน10นาทีและหดรัดตัวนานไม่น้อยกว่า20วินาที
ถ้าปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 3 ชั่วโมง(Activephase)ต้อบมีการหดรัดตัวของมดลูก 1 ครั้งใน 10 นาทีและหดรัดตัวนานไม่น้อยกว่า 20 วินาที
ลักษณะความก้าวหน้าของการคลอดที่ผิดปกติ
1.ระยะ latent ปากมดลูกไม่เปิดขยายเพิ่มขึ้นภายใน 4 ชั่วโมง
2.ระยะ active ปากมดลูกไม่เปิดขยายเพิ่มขึ้นภายใน 2 ชั่วโมง หรือปากมดลูกเปิด ขยายน้อยกว่า 1.2 เซนติเมตรต่อชั่วโมงในครรภ์แรกและเปิดขยายน้อยกว่า 1.5 เซนติเมตรต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง
3.เส้นกราฟการคลอดท่ีแสดงอัตราการเปิดขยายของปากมดลูกมีความชันน้อยกว่าเส้นกราฟปกติ
ระยะที่สองของการคลอดพบว่าส่วนนำไม่มีการเคลื่อนต่ำลงมาในช่องเชิงกราน ภายใน 30 นาที
การประเมินทางด้านจิตสังคม
1.ระยะ Latent phase : เครียดน้อย เจ็บครรภ์น้อย จะรับรู้ เรียนรู้และแก้ปัญหาได้มาก
2.ระยะActivephase:สิ่งกระตุ้นความเครียดมากขึ้น เจ็บครรภ์มากขึ้นเหนื่อย อ่อนเพลีย
3.ระยะ Transitional phase : วิตกกังวลสูง เจ็บปวดและเครียดมากที่สุด ทุรนทุรายและเหนื่อยอ่อน
ส่วนประกอบที่สำคัญของWHO Partograph
สภาพของทารกในครรภ์ (fetal condition)
-อัตราการเต้นของหัวใจทารก(FHR)
-ลักษณะของถุงน้ำและน้าคร่ำ (membrane and amniotic fluid)
การเกยกันของกระดูกกะโหลกศีรษะทารก (molding of fetal skull bone)
ความก้าวหน้าของการคลอด (progression of labor)
การเปิดขยายของปากมดลูก
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การหดรัดตัวของมดลูก
สภาพของมารดา (maternal condition)
3.การให้ยาและการรักษา(drugandtreatment)
บทบาทพยาบาล
Non-pharmacological tech.
ประคับประคองทางด้านจิตใจ
เช่น สามี/ญาติ ดูแล พยาบาลอยู่เป็นเพื่อนเข้าใจถึงความต้องการของผู้คลอดมนุษยสัมพันธ์ที่ดี :
ให้ข้อมูล/ให้ความรู้
เกี่ยวกับ ผล PV บรรเทาอาการเจ็บครรภ์
ความก้าวหน้าของการคลอด
ลดสิ่งกระตุ้น/จัดสิ่งแวดล้อม
ดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล เช็ดหน้า
ปรับอุณหภูมิให้เหมาะสม ลดเสียงรบกวน
เบี่ยงเบนความสนใจ
เพ่งจุดสนใจ
ฟังดนตรี (Music therapy)
การชวนคุย (Support)
Pharmacological pain management
การดูแลทางด้านจิตใจ
-Developing trust & security
สร้างความไว้วางใจและความมั่นคงปลอดภัย
-Meeting the informational need
การให้ข้อมลูตามความต้องการ
-Promoting of comfort & relaxation
ส่งเสริมให้เกิดความสุขสบายและผ่อนคลาย
-Support role of nurse
การสนับสนุนช่วยเหลือทางด้านจิตใจ
การป้องกันอันตรายต่อสุขภาพหญิง ในระยะที่ 1 ของการคลอด
ความก้าวหน้าของการคลอดล่าช้า
ความก้าวหน้าของการคลอดล่าช้าข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน ความก้าวหน้าในระยะที่ 1 ของการคลอดได้แก่ การเปิดขยายของปากมดลูก และลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
ผู้คลอดอยู่ในภาวะอันตราย
ผู้คลอดมีภาวะเหนื่อยล้า/เครียด (Maternal exhaustion/distress)
ภาวะเครียดทางอารมณ์ (Emotional distress)
ทารกอยู่ในภาวะเครียด (Fetal distress)
การหดรัดตัวของมดลูกรุนแรงผิดปกติ (Hypertonicity
ด้านกฎหมายและสิทธิของผู้ใช้บริการ
ผู้คลอดย่อมได้รับสิทธิตามสิทธิผู้ป่วยที่โรงพยาบาลกำหนดไว้จึงมีสิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของตนเองและทารกในครรภ์ตั้งแต่การดูแลในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด จนถึงระยะหลังคลอด ดังน้ันพยาบาลต้องทำความใจถึงสิทธิของผู้คลอดและให้ข้อมูล เกี่ยวกับสิทธิของผู้ใช้บริการที่พึ่งได้รับ รวมทั้งสิทธิอันพึงมีของผู้คลอด และสมาชิกในครอบครัวด้วยการเซ็นยินยอมเข้ารับการรักษาต่างๆ
นางสาวสาวิตรี สุขแย เลขที่ 130 รหัส 612401133