Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายแพ่งและอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์,…
กฎหมายแพ่งและอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
กฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์
ลักษณะกฎหมาย
เอกชนกับเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกคน
ทางแพ่งจะมีผลกระทบต่อบุคคลที่เป็นคู่กรณีเท่านั้น
ฟ้องร้องคดีผู้เสียหายจึงต้องฟ้องต่อศาลเอง
หากมีการประนีประนอมกันได้ระหว่างดำเนินคดี สามารถถอนฟ้องได้
ละเมิด
องค์ประกอบของการกระทำละเมิด 3 ประการ
กระทำโดยบุคคลอื่นโดยผิดต่อกฎหมาย
ประทุษกรรมต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
กระทำโดยรู้สำนึกและในขณะเดียวกันก็รู้ว่าจะทำให้เกิดความเสียหาย
เจตนาฆ่า
เจตนาทำร้าย
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
เกิดความเสียหายร่างกายหรือทรัพย์สินก็ได้
การชดใช้ค่าเสียหาย
ค่าสินไหมทดแทน
ตกลงค่าสินไหมทดแทนคู่กรณีสามารถตกลงกันได้
มีหลักเกณฑ์ในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
กรณีสินทรัพย์เสียหาย
ใช้ราคาทรัพย์สินรวมค่าเสียหายอันพึงจะบังคับให้ใช้
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
1.ปลงศพค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นเกี่ยวกับการปลงศพ
ค่าโลงศพ
ค่าธรรมเนียมวัด
ค่าบำเพ็ญกุศล
2.ค่าขาดไร้อุปการะเลี้ยงดู
3.ค่าขาดแรงงาน
ต้องทำงานเป็นคุณให้แก่ ครอบครัว หรือแก่บุคคลภายนอกครอบครัว
ผู้กระทำละเมิดต้องชดใช้ค่า แรงงานในส่วนนี้ด้วย
4.ค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ก่อนตาย
ได้รับบาดเจ็บหรือพิการ
1.ค่ารักษาพยาบาลอันจำเป็นแก่อาการ
2.ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
3.ค่าสูญเสียความสามารถในการประกอบอาชีพทั้งในเวลาปัจจุบันและอนาคต
4.ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน “ค่าทำขวัญ”
ทดแทนความเสียหายต่อร่างกายหรือจิตใจของผู้เสียหายที่ต้องเจ็บปวดหรือทุกข์ทรมานจากความพิการหรือผลร้าย
ผู้ร่วมรับผิดในการกระทำละเมิด
นายจ้างกับลูกจ้าง
กฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องรับผิดชอบกับลูกจ้างในผลของละเมิดที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติของลูกจ้างในทางการจ้าง
บิดามารดากับผู้เยาว์
ผู้อนุบาลกับคนวิกลจริต
ครูอาจารย์กับผู้ที่อยู่ในความดูแลของตน
รับผิดชอบต่อผลของการกระทำละเมิดของบุคคลที่อยู่ในความดูแลของตน
ตัวการร่วมรับผิดชอบกับตัวแทน
ผู้ที่มิได้มีส่วนร่วม หรือรู้เห็นในการกระทำละเมิดเลย อาจต้องรับผิดในการกระทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิด
ต้องร่วมกันรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น
สภาพบังคับของกฎหมาย
1.โมฆะกรรม
ความสูญเปล่าของนิติกรรม
เสมือนหนึ่งว่าไม่ได้มีการกระทำนิติกรรมนั้นขึ้น
องค์ประกอบที่ทำให้นิติกรรมเป็นโมฆะกรรม
ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
ทำสัญญารับจ้างฆ่าคน
เป็นการพ้นวิสัย
เป็นการกระทำในสิ่งที่ไม่สามารถกระทำได้
ทำสัญญา
ชุบชีวิต คนตายให้ฟื้นกลับ
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
ตกลงให้ยาแก่ผู้ป่วยโรคเอดส์ระยะรุนแรงให้ตายเพื่อให้พ้นทุกข์ทรมาน
2.โมฆียกรรม
นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ในขณะที่ทำบอกล้างได้ในเวลาต่อมา
องค์ประกอบที่ทำให้นิติกรรมเป็นโมฆียกรรม
1.นิติกรรมที่ทำขึ้นโดยสำคัญผิดในคุณสมบัติของคู่สัญญา
ทำสัญญาว่าจ้างแพทย์ผ่าตัดเปลี่ยนไตโดยสำคัญผิดว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญโรคไต
2.นิติกรรมทำขึ้นโดยคู่สัญญาหย่อนความสามารถในการทำนิติกรรม
3.การบังคับชำระหนี้
อาจเป็นการบังคับชำระด้วยเงินหรือการส่งมอบทรัพย์สิน
4.การชดใช้ค่าเสียหาย
ผู้ที่ได้รับความเสียหายมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้กระทำผิดชดใช้ความเสียหายคืนสู่ฐานะเดิมให้ได้ใกล้เคียงที่สุด
ความรับผิดทางแพ่ง
ความรับผิดตามสัญญา
เป็นความตกลงด้วยในสมัครระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปว่าจะกระทำหรืองดเว้นกระทำกี่อันชอบด้วยกฎหมาย
ความรับผิดจากการละเมิด
หลักสำคัญที่ถือว่าเป็นการละเมิด
1.กระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำผิดกฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.กระทำโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ
กระทำประสงค์ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำ
3.ทำให้บุคคลอื่นเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่ง
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
1.ค่าปลงศพ
2.ค่าขาดไร้อุปการะ
3.ค่าขาดแรงงาน
กรณีผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย
1.ค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
2.ค่าเสียความสามารถประกอบการงานในอนาคต
3.ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน
4.ผู้กระทำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
กฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ประเภทของกฎหมายอาญา
1.ประมวลกฎหมายอาญา
กฎหมายที่รวบรวมการกระทำผิดสำคัญๆและบังคับใช้
ความผิดบานลักทรัพย์
รับของโจร
ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์
2.กฎหมายอาญาประเภทอื่นๆ
เกี่ยวกับการกระทำความผิดเฉพาะเรื่องนอกจากที่ได้กล่าวไว้
ความผิดทางอาญา
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
ต้องมีการกระทำ
การกระทำนั้นกฎหมายบัญญัติว่าเป็นการกระทำผิดและกำหนดโทษไว้
ต้องกระทำโดยเจตนา
ต้องมีกฎหมายกำหนดไว้ด้วยว่าจะต้องรับโทษ
ไม่มีกฎหมายยกเว้นความรับผิดหรือกฎหมายยกเว้นโทษ
การกระทำ
การกระทำโดยเจตนา
กระทำโดยรู้สึกในการกระทำและขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น
องค์ประกอบของการกระทำโดยเจตนา
1.ต้องกระทำโดยรู้สึกในการกระทำ
2.ต้องกระทำโดยประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล
การกระทำโดยประมาท
องค์ประกอบของการกระทำโดยประมาท
1.การกระทำนั้นเป็นการกระทำที่ไม่เจตนากระทำผิด
2.ได้กระทำไปโดยปราศจากความระมัดระวัง
ต้องมีตามวิสัย
และพฤติการณ์
3.ผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังได้
กระทำความผิดโดยมิได้เจตนาโดยปราศจากความระมัดระวัง
การกระทำโดยไม่เจตนา
การกระทำที่ไม่ทั้งประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลที่เกิดขึ้นจากการกระทำ
การกระทำโดยไม่เจตนานี้ผู้กระทำจะต้องได้รับโทษทางอาญาหากเป็นการกระทำซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าต้องรับโทษแม้ไม่เจตนา
พยาบาลใช้เชือกมัดผู้ป่วยอุบัติเหตุทางสมองที่ไม่รู้สึกตัวจนทำให้ผู้ป่วยมีบาดแผลเหวอะหวะบริเวณข้อมือ
การกระทำโดยงดเว้น
เพื่อป้องกันผลร้ายอย่างใดอย่างหนึ่ง
ต้องถือบุคคลผู้มีหน้าที่นั้นเป็นผู้กระทำให้เกิดผลร้ายแรงเอง
หน้าที่จักต้องกระทำอาจเกิดขึ้นได้ 2 กรณี
1.โดยกฎหมายบัญญัติ
บิดา มารดา มีหน้าที่ อุปการะเลี้ยงดูบุตร
บุตรต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา
2.โดยการกระทำของผู้กระทำผิดเอง
รับจ้างเป็นพยาบาลมีหน้าที่ดูแลให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วย หลับเวรปล่อยให้ออกซิเจนหมด ผู้ป่วยถึงแก่กรรม
ถือว่าเป็นการกระทำโดยงดเว้นการกระทำโดยเจตนา หรือประมาทก็ได้
ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
หลักเกณฑ์“ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย”
1.ต้องเป็นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
2.ภยันตรายนั้นเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง
3.ต้องเป็นการกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่นให้พ้นจากภยันตรายนั้น
ความยินยอม
เหตุยกเว้นโทษ
กระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
หลักเกณฑ์ กระทำตามคำสั่งของ เจ้าพนักงาน
1.กระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งตามกฎหมาย
2.คำสั่งนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย
คำสั่งที่กฎหมายไม่ให้อำนาจที่จะให้ออกคำสั่งเช่นว่านั้นได้
3.ผู้กระทำมีหน้าที่
เชื่อโดยสุจริตใจว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม
แม้คำสั่งนั้นจะมิชอบด้วยกฎหมายถ้าผู้กระทำมีหน้าที่หรือเชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ผู้นั้นไม่รับโทษ
กระทำผิดเพราะไม่สามารถรู้ผิดชอบ
หลักการของ การกระทำเพราะไม่สามารถรู้ ผิดชอบ
1.ต้องกระทำผิดในขณะที่ไม่สามารถรู้ รับผิดชอบหรือไม่ สามารถบังคับตนเองได้
2.เพราะจิตบกพร่อง โรคจิต หรือจิตฟั่นเฟือน
ผู้ใดกระทำความผิดในขณะไม่สามารถบังคับตนเองได้เพราะมีจิตบกพร่องโรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือน ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น
กระทำผิดด้วยความจำเป็น
1.เพราะอยู่ในที่บังคับหรือภายใต้อำนาจซึ่งไม่ อาจหลีกเลี่ยงหรือขัดขืนได้
2.เพราะเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นจากภยันตรายที่ใกล้จะถึงและไม่สามารถหลีกเลี่ยง ให้พ้นโดยวิธีอื่นก็ได้
องค์ประกอบของความยินยอม
1.ต้องยินยอมโดยบริสุทธิ์ใจมิได้เกิดขึ้นจากความหลอกลวง ขู่เข็ญหรือสำคัญผิดใน ข้อเท็จจริง
2.ความยินยอมต้องมีอยู่ในขณะกระทำผิด
3.ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
การยอมให้ฆ่าไม่อาจกระทำได้เพราะผิดกฎหมาย
อายุความและโทษทางอาญา
หากผู้เสียหาย ได้ปล่อยปละละเลยหรือจำเลยได้หลบหนีไปจน หมดอายุความแล้ว พนักงานอัยการผู้เป็นโจทย์ก็ จะสั่งฟ้องผู้ต้องหาไม่ได้
สภาพบังคับของกฎหมาย
โทษสำหรับผู้กระทำ
1.ประหารชีวิต
2.จำคุก
3.กักขัง
4.ปรับ
5.ริบทรัพย์สิน
แบ่งเป็น 2 ประเภท
ความผิดต่อแผ่นดิน
เสียหายและส่งผลกระทบกระเทือนแก่สังคม
รัฐจำเป็นต้องเข้าไปดำเนินคดีเพื่อรักษา ความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองได้ด้วย
ความผิดส่วนตัว
ความผิดที่ไม่ร้ายแรง
ความผิดประเภทนี้ตัวผู้ได้รับความเสียหายเท่านั้นที่จะฟ้องร้องได้เอง
การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์กับความผิดทางอาญา
1.การไม่ช่วยเหลือหรือปฏิเสธการประกอบวิชาชีพ
ผู้ใดเห็นผู้อื่นตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิตซึ่งตนอาจช่วยได้โดยไม่ควรกลัวอันตรายแก่ตนแต่ไม่ช่วยตามความจำเป็น
โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
2.ประกอบวิชาชีพโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม
ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่นให้กระทำการใด หรือจำยอมต่อสิ่งใด กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.ทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วย
ทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วยเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
4.การเปิดเผยความลับผู้ป่วย
ปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษเช่นกัน
5.ประมาทในการประกอบวิชาชีพ
กระทำโดยประมาท กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง
6.การทำหรือรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ
รับรองเอกสารอันเป็นเท็จ
ระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
7.การทำให้แท้งลูก
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ความสัมพันธ์ของบุคคล
สัญญา
การตกลงด้วยความสมัครใจระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปโดยเจตนาจะต้องถูกต้องตรงกัน
นิติกรรม
บุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าหย่อนความสามารถในการกระทำนิติกรรม
ผู้เยาว์
บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ อายุไม่ครบ 20 ปี บริบูรณ์
การทำนิติกรรมของผู้เยาว์ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
คนไร้ความสามารถ
ผู้สืบสันดานหรือบุพการีของคนวิกลจริตเป็นผู้อนุบาล
ผู้อนุบาลจะเป็นผู้ทำนิติกรรมแทนคนไร้ความสามารถ
คนเสมือนไร้ความสามารถ
กายพิการหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ
ติดสุรายาเมา
องค์ประกอบของนิติกรรม
มีการกระทำ
การบอกกล่าวด้วยวาจาเป็นลายลักษณ์อักษร
กระทำสัญลักษณ์
การกระทำนั้นโดยชอบด้วยกฎหมาย
แบ่งเป็น 2 ประเภท
นิติกรรมฝ่ายเดียว
เจตนาของบุคลากรฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียว
การทำพินัยกรรม
นิติกรรมสองฝ่าย
เจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป
สัญญาว่าจ้าง
สัญญาซื้อขาย
นางสาวสโรชา ยาวิใจ เลขที่35 รุ่น36/2 612001115