Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดระยะที่ 1, image, image, image, image, นางสาวศุภาพิชญ์…
การพยาบาลผู้คลอดระยะที่ 1
บทบาท
ความรู้การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยา รู้เทคนิคดูแลหญิงตั้งครรภ์
มีความสามารถ ชำนาญในเทคนิค
ตัดสินใจที่ดีและพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตื่นตัวในการค้นพบความผิดปกติ
ค้นหาความต้องการของหญิงในระยะคลอด
มีสัมพันธภาพที่ดี เห็นอกเห็นใจ
การรับใหม่
ซักประวัติ
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล ได้แก่ เวลาที่เริ่มเจ็บครรภ์ ลักษณะของการเจ็บครรภ์(เจ็บครรภ์จริง หรือเจ็บครรภ์เตือน) การมีมูกเลือดออกทางช่องคลอด เพื่อตัดสินใจรับไว้ในโรงพยาบาล
ประวัติทางสูติกรรม ได้แก่ จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
การคลอด การแท้งบุตร อายุครรภ์
ประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม และศัลยกรรม ทั้งปัจจุบัน และอดีต
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆ
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ ชื่อ อายุ การศึกษา รายได้ อาชีพ เป็นต้น
ประวัติด้านจิตสังคม
การได้รับการสอนเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อการคลอด จำนวนครั้งที่มาฝากครรภ์ และแพทย์ผู้ดูแล
ตรวจร่างกาย
ตรวจทั่วไป
น้ำหนัก ส่วนสูง ค่าดัชนีมวลกาย(BMI) ลักษณะภายนอก (มีอาการซีด บวม) สัญญาณชีพ พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความเจ็บปวด เป็นต้น นอกจากนี้ตรวจสอบผลตรวจทางห้องปฏิบัติการในสมุดบันทึกการตั้งครรภ์ ได้แก่ ผลตรวจเลือด และปัสสาวะ ร่วมมกับผลการตรวจพิเศษ
ตรวจเฉพาะที่
ดู : ขนาดท้อง ลักษณะมดลูก การเคลื่อนไหว
ฟัง : ฟังเสียงอัตราการเต้นของหัวใจทารก (Fetal heart sound) โดยใช้ Stethoscope บริเวณหน้าท้องของหญิงตั้งครรภ์ปกติประมาณ 120 -160 ครั้ง/นาที เพื่อประเมินภาวะพร่องออกซิเจนของทารก(Fetal distress) จาก FHS ที่น้อยกว่า 110 หรือมากกว่า 160 ครั้ง/นาที จังหวะการเต้นของหัวใจที่ไม่สม่ำเสมอ และมีขี้เทาปนออกมากับน้ำคร่ำของหญิงตั้งครรภ์
คลำ
1.Fundal grip – คลำหายอดมดลูก
2.Umbilical grip
3.Pawlik’s grip – ตรวจหาส่วนนำ
4.Bilateral inguinal - ตรวจสอบว่าส่วนนำลงสู่ชองเชิงกรานหรือไม่
ตรวจภายใน
1.สภาพปากมดลูก นุ่ม แข็ง การยืดขยาย
2.ความบางของปากมดลูก (Cervical Effacement)
ตั้งแต่ 0% จนถึง 100%
3.ความบวมของปากมดลูก มักพบในหญิงตั้งครรภ์ที่เบ่งก่อนเวลา
4.ตำแหน่งของปากมดลูก ในระยะแรกของการคลอด ปากมดลูกจะอยู่ด้านหลัง และค่อยๆเคลื่อนมาอยู่ตรงกลาง และมาอยู่ด้านหน้าเมื่อใกล้คลอด
5.ตรวจหาส่วนนำของทารก ให้ตำแหน่ง Ischial spine = station 0 (2,1,0-1,-2)
6.รอยต่อเสกกลางของศีรษะทารก ขม่อมหน้าหรือขม่อมหลัง
7.สภาพน้ำทูนหัว (Bag of fore water) – MI:แข็งตึง ML:ไม่ค่อยแข็งรั่วไหลเล็กน้อย MR:ถุงน้ำแตก
8.ก้อนโน (Caput succedaneum) การเกยกันของศีรษะ (Molding)
คาดคะเนระยะเวลาคลอด
ครรภ์แรกปากมดลูกเปิด 1 ซม./ชม.
ครรภ์หลังปากมดลูกเปิด 1.5 ซม./ชม.
ข้อบ่งชี้ - ผู้คลอดรายใหม่ทุกรายยกเว้นมีการตกกเลือด/เจ็บครรภ์ถี่ สงสายปากมดลูกเปิด/ก่อนสวนอุจจาระ/ท่าผิดปกติ/คลอดล่าช้า
ข้อห้าม - การตกเลือด/อายุครรภ์ไม่ครบ/มีการอักเสบบริเวณทวาร/ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
การเตรียมตัว - ถ่ายปัสสาวะ/อธิบายให้ความเคารพ/จัดท่านอนหงายชันเข่า/คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณที่ตรวจ
เตรียมผู้คลอด
ประเมินภาวะทางจิตสังคมของผู้มาคลอด เพื่อดูความพร้อม
ทางด้านจิตใจ อารมณ์และสังคมต่อการมาคลอด
ประเมินความสุขสบาย อาการรบกวนต่าง ๆ ความวิตกกังวล
และ ความรู้/ทักษะในการลดอาการเจ็บครรภ์
การฝึกหายใจและการเบ่งคลอด
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ สวนอุจจาระ
ทำความสะอาดร่างกาย
นอนรอคลอด เขียนบันทึก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
Latent phase
-Dilate < 3 cm. -Duration 15-20 sec
-Interval 10-15 sec -Intensity mild(+)
Active phase(ตอนต้น)
-Dilate 3-9 cm. -Duration 45-60 sec
-Interval 3-5 sec -Intensity moderate(++)
Active phase(ตอนปลาย)
-Dilate 9-10 cm. -Duration 60-90 sec
-Interval 2-3 sec -Intensity Moderate/severe(+++)
ระวัง* Tetanic contraction เกิดUterine rupture
ประเมินโดยใช้เครื่อง Electronic fetal monitoring
อาการผิดปกติ**แข็งมาก ปวด เห็นรอยคอด Bandl's ring
ส่งผลให้ Uterine rupture
การเปิดขยาย
ความบางของปากมดลูก
Fully dilation - มดลูกขยายตัว 10 ซม.
Effacement 100 %(ความบาง)
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำและการหมุนศีระษะทารก
ตำแหน่งเสียงหัวใจทารก
เคลื่อนต่ำลง เบนเข้าแนวกึ่งกลางลำตัว
ฟังบริเวณรอยต่อกระดูกหัวเหน่า(Symphysis pubis)
มูก ถุงน้ำคร่ำ และอาการแสดง
มีมูกมากขึ้น ประมาณ 50 ซีซี(Tickle of blood)
ถุงน้ำแตกเองเมื่อปากมดลูกใกล้จะเปิดหมด
มีอาการกระสับกระส่ายมาก
ประเมินภาวะแทรกซ้อน
การแตกของถุงน้ำคร่ำก่อนเจ็บครรภ์
สายสะดือย้อย
การคลอดยาวนาน ยาก
ความผิดปกติในการหดรัดตัว
อื่นๆ
ประเมินสภาวะในครรภ์
เสียงหัวใจทารก
110-160 ครั้ง/นาที ฟังขณะมดลูกคลายตัว
ประมาณ 20-30 วินาที ฟังจนครบ 1 นาที
ลักษณะน้ำคร่ำ ใสๆ เหลืองจางคล้ายฟางข้าว
ใกล้คลอดจะขุ่นคล้ายน้ำมะพร้าว
*ระวัง หากมีขี้เทาปนมากจะแสดงถึง
ความรุนแรงของภาวะพร่องออกซิเจน
การดิ้นของทารก
10-12 ครั้ง/ชั่วโมง
Fetal blood analysis
ตรวจภาวะความเป็นกรดในเลือด
และภาวะพร่องออกซิเจน(ปกติ 7.20-7.40)
Continuous electronic fetal heart
การบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารก
การบันทึกความก้าวหน้า
Friedman
Latent phase
Active phase
WHO patograph
1.สภาพของทารกในครรภ์
2.ความก้าวหน้าของการคลอด
3.การให้ยาและการรักษา
4.สภาพของมารดา
ภาวะผิดปกติ
Latent ปากมดลูกไม่เปิดขยายเพิ่มขึ้นใน 4 ชม.
Active phase ปากมดลูกไม่เปิดขยายเพิ่มขึ้นใน 2 ชม.
เส้นกราฟคลอดที่แสดงอัตราการเปิดขยายของปากมดลูกมีความชันน้อยกว่าปกติ
ระยะที่ 2 ของการคลอด ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลง
ช่องเชิงกรานใน 30 นาที
ประเมินจิตสังคม
Latent phase
เหมาะสม : เครียดน้อย เจ็บครรภ์น้อย
ไม่เหมาะสม : ก้าวร้าว โกรธ ไม่พอใจ ซึมเศร้า
Active phase
เหมาะสม : เครียด และเจ็บมากขึ้น
ไม่เหมาะสม : ก้าวร้าว ครวญคราง แยกตัว
Transition phase
ไม่เหมาะสม : ควบคุมพฤติกรรมไม่ได้ ไม่ตอบสนอง
การส่งเสริม
ประคับประคองด้านจิตใจ
ให้ครอบครัวมีส่วร่วม
พยาบาลอยู่ดูแลเป็นเพื่อน
ให้ข้อมูล/ให้ความรู้
การคลอด
ผลตรวจภายใน
ความก้าวหน้าของการคลอด
จัดสิ่งแวดล้อม ลดสิ่งกระตุ้น
ลดอาการปวด
เบี่ยงเบนความสนใจ
พูดคุย การฟังเพลง
การถู นวด ลูบ
ประคบร้อน/เย็น
การกดจุด
การหายใจ
นางสาวศุภาพิชญ์ ทองคำ เลขที่ 123 ชั้นปีที่ 2 รหัสนักศึกษา 612401126