Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการบำบัดทางจิตเวช - Coggle Diagram
รูปแบบการบำบัดทางจิตเวช
นิเวศน์บำบัด (Milieu Thtexterapy)
ความหมาย
การออกแบบวางแผนจัดสิ่งแวดล้อมที่มุ่งส่งเสริมการบำบัดรักษา
องค์ประกอบ
ความปลอดภัย (Safety)
โครงสร้าง (Structure)
บรรทัดฐานทางสังคม (Norms)
ความสมดุล (balance)
การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช (Limit setting)
กลุ่มกิจกรรมบำบัด
ข้อดี
ประหยัดเวลา
เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ข้อด้อย
ความจำกัดเรื่องระยะเวลา ทำให้ผู้ป่วยบางรายขาดโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
ผู้นำกลุ่มต้องตั้งกติกาหรือข้อตกลงในการทำกิจกรรม เพื่อลดความเสี่ยงในการเปิดเผยข้อมูลของผู้ป่วยคนอื่น
ขั้นตอน
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นเริ่มต้นกลุ่ม (Orientation phase)
ขั้นดำเนินการกลุ่ม (Working phase)
ขั้นสิ้นสุดกลุ่ม (Termination phase)
ขั้นประเมินผล
องค์ประกอบ
activity
setting
leader
co-leader
members
บทบาทพยาบาลในนิเวศน์บำบัด
1.เป็นผู้วางแผนออกแบบสิ่งแวดล้อมภายในหอผู้ป่วยให้มีความเหมาะสม ปลอดภัย
2.เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ป่วย
3.วางแผนจัดกิจกรรมกลุ่มบำบัดต่างๆ
4.ให้ความรู้เรื่องต่างๆแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
5.จำกัดสิทธิหรือพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
พฤติกรรมบำบัด (Behavior Therapy)
ความหมาย
การบำบัดจิตที่มุ่งเน้นการควบคุมพฤติกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สังเกตได้
หลักการของพฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมดยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
ลักษณะของทฤษฎีการเรียนรู้
1.การเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม
เกิดจากการมีการวางเงื่อนไขสิ่งเร้าภายนอกมากระตุ้น
2.การเรียนรู้โดยการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
ทำดีให้รางวัล
3.การเรียนรู้ทางสังคม
เรียนรู้จากการสังเกตหรือจากการเรียนแบบจากตัวแบบ(modeling)
ขั้นตอนการทำพฤติกรรมบำบัด
1.เก็บข้อมูลและทำFunctional analysis
2.ตั้งวัตถุประสงค์ร่วมกับผู้ป่วย ว่าจะเปลี่ยนพฤติกรรมใด
เกณฑ์ 6 ประการ
1.จุดประสงคืตรงกับความต้องการของผู้ป่วย
2.ผู้ป่วยเต็มใจรักษา
3.สามารถดำเนินการให้บรรลุได้
4.ร่วมกับผู้ป่วย เลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด
5.ดำเนินการตามที่วางแผน
6.ประเมินผลและยุติการรักษา
เทคนิคและวิธีการ
Self Monitoring
Reimforcement
Punishment
Shaping Teachique
Counter Conditioning
Assertive training
กระบวนการรักษา CBT
1.การประเมิน
2.การเปลี่ยนความคิดที่ใช้อธิบายเหตุการณ์
3.การฝึกทักษะ
4.การสร้างเสถียรภาพของทักษะ
5.การประยุกต์ใช้โดยทั่วไป และการธำรงรักษา
6.การประเมินหลังารบำบัดและการติดตาม
จิตบำบัด (Psychotherapy
ความหมาย
การรักษาความผิดปกติทางด้านจิตใจหรืออารมณ์ด้วยวิธีการพูดคุยกับผู้ป่วย หรือ บางวิธีอาจไม่ใช้วาจา
รูปแบบจิตบำบัด
จิตบำบัดแบบหยั่งเห็น (Insight Psychotherapy)
เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งของจิตใจเฉพาะเรื่อง
เพื่อแก้ไขกลไกทางจิตที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจความจริงของชีวิต
จิตบำบัดแบบประคับประคอง (Supportive Psychotherapy)
เพื่อบรรเทาอาการโดยแก้ปัญหาเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
เพื่อแก้ปัญหาหรือความขัดแย้งระดับจิตรู้สำนึก
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยทนต่อภาวะตึงเครียด
เพื่อช่วยเพิ่มพลังและประคับประคองให้แก่การทำงานของจิต
วิธีการของจิตบำบัด
1.ให้ความเชื่อมั่น ให้กำลังใจ
2.ให้การสนับสนุน
3.ให้แนวทาง การแนะแนว
4.การหันความสนใจไปสู่ภายนอก
5.การจัดการกับสิ่งแวดล้อม
6.การแนะนำ
7.การชักชวน จูงใจ
8.การระบายอารมณ์
9.การลดความอ่อนไหวหรือลดพฤติกรรมอ่อนไหวลง
วิธีการบำบัดตามทฤษฎีของโรเจอร์ส
1.สร้างบรรยากาศให้การช่วยเหลือ
2.ให้ความจริงใจ
3.ให้การยอมรับ
4.แสดงความเอื้ออาทรใส่ใจ
5.ให้ผู้ป่วยเกิดแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่างของตน
6.ให้ผู้ป่วยสำรวจตนเองแลเปิดเผยเรื่องราวประสบการณ์
7.ให้ผู้ป่วยพิจารณาจนเกิดความเข้าใจและยอมรับสภาพปัญหาตามความเป็นจริง
8.ให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนด
ลักษณะการบำบัดทางจิต
จิตบำบัดรายบุคคล
จิตบำบัดรายกลุ่ม
ระยะเริ่มต้นกลุ่ม
ระยะกลาง ดำเนินการ
ระยะสุดท้าย