Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบตุรยาก (Infertility) - Coggle Diagram
ภาวะมีบตุรยาก (Infertility)
ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่ได้ พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ
การมีบุตรยากที่ฝ่ายหญิงเคย ตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้ง หรือการ คลอดก็ตาม หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็น ระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
สาเหตุจากฝ่ายหญิง(Female infertility)
Endometriosis พบร้อยละ 20
Immunological พบร้อยละ 5
ท่อนำไข่พบร้อยละ 30
Other พบรอ้ยละ 5
การทำงานของรังไข่ผิดปกติพบร้อยละ 40
สาเหตุจากฝ่ายชาย(Male infertility)
Sperm dysfunction เช่น เชื้ออสุจิน้อย มีรูปร่าง ผิดปกติ หรือมีการเคลื่อนไหวน้อย
Other พบร้อยละ 10
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียดความ วิตกกังวล ก็เป็นสาเหตุให้เกิดภาวะมีบุตรยากได้
Sexual factors เช่น Electile dysfunction, Premature dysfunction
ความสามารถในการมีบุตร
อายุฝ่ายหญิง 21-25 ปี ความสามารถมีบตุรได้สูง
อายฝุ่ายชายอายุ˃ 55 ปี ขึน้ไปจะมีความผิดปกติ ของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
ประวัติ
การมีเพศสัมพันธ์
การประจำเดือน
การแต่งงานและการมีบุตร
การผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
Secondary sex
โรคทางอายรุกรรมที่เป็นสาเหตุให้มีบุตรยาก
การตรวจต่อมไร้ท่อ
Thyroid
Pituitary
Hypothalamus
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด
Wet smear
Culture
PV
คอมดลูก
ตัวมดลูก
PV
Endometrium biopsy
Hysteroscopy
Hysterosalpingogram
U/S
ท่อนำไข่
CO2 insufflation
Hysterosalpingogram
Laparoscope
การวินิจฉัย
Endoscopy การส่องกล้อง
Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์
รังไข่
Cx mucous
Endometrium biopsy
BBT
Serum progesterone
เยื่อพังผืดในอุ้งเชิงกราน
Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT (postcoital test)
เต้านม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด
ตรวจฮอร์โมน
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
˃5 μ/dl = มีการตกไข่
˃10 μ/dl=มีการตกไข่คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติด้วย
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลกูหรือการทำpostcoital test
การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
การตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function tests
การทำpost coital test
เพื่อดมูกูที่ปากมดลกูและดคูวามสามารถของอสุจิ ที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูกระยะเวลาที่ เหมาะสม
ในการตรวจได้แก่ 1-2 วันก่อนการตกไข่ โดยให้คู่สมรสมีเพศสัมพันธ์กันหลังจากที่งด เพศสมัพนัธม์าเป็นเวลา 2-3 วัน
แล้วให้มารบัการ ตรวจประมาณ9-24 ชั่วโมงหลังจากนั้นด้วยการ ตรวจโดยใช้ syringe เล็กๆดูดเอามูกบริเวณ posterior fornix มาป้ายบนแผ่นสไลด์ เพื่อดูว่า ยังคงมีตัวอสุจิหรือไม่
ดูดจากช่องคอมดลูกและยืดดูหากเป็นช่วง ของการตกไข่มูกจะใสและยืดได้ยาวก่อนที่จะขาด ออกจากกัน
หากพบอสุจิที่เคลื่อนไหวไปข้างหน้าเกิน5 ตวั/HPF แสดงว่าอสุจิสามารถว่ายผ่านมูกขึ้นไป ได้และมกูที่ปากมดลกูยงัทา หน้าที่เป็นแหล่งเก็บ กักอสุจิและคอยส่งขึ้นไปในโพรงมดลูกด้วย
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคติดเชื้อทาง เพศสัมพันธ์
โรคเบาหวาน
โรคคางทูม
ลักษณะนิสัยบางประการ (การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอลฯ์)
โรคของต่อมไร้ท่อ
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสมัพันธ์ และความถี่ในการมีเพศสมัพนัธ์
การได้รับการกระทบกระเทือน ที่อวยัวะสืบพนัธ์
การตรวจร่างกาย
หนังหุ้มปลายองคชาต
ลักษณะและรเูปิดของท่อปัสสาวะ
ลักษณะรปูร่างอณัฑะ
หลอดเลืดขอด ในถุงอณัฑะ(Varicocele) Hydrocele
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจน้ำอสุจิ
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ (WHO)
ความหนาแน่นของตัวอสุจิ ≥ 20ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
จำนวนของตัวอสุจิทั้งหมด≥ 40ล้านตัว
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ ≥ร้อยละ 50มีการเคลื่อนที่ไป ข้างหน้า
ปริมาตร (volume) ≥ 2มิลลลิติร
รูปร่าง ลักษณะ ≥ร้อยละ 14มีรูปร่างลักษณะปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว <1 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
ความเป็นกรด-ด่าง (pH) = 7.2 หรือมากกว่า
การมีชีวิต (vitality) ≥ ร้อยละ 75
การตรวจอการตรวจอสุจิสุจิ
งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ2-7วัน
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1ชั่วโมงภายหลงัที่เก็บได้
ไม่แนะนำให้มีการมีเพศสัมพนัธ์ก่อนแล้วหลั่งข้างนอก หรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารที่ทำลายอสุจิได้
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหา สาเหตขุองการมีบุตรยากแล้วจนครบตาม มาตรฐานแล้ว
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น
การผสมเทียม
การกระตุ้นไข่
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง (IUI)
การนำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่
3D animation of how IUI works
วิธีการนี้ไม่เหมาะกับ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืด ขวางทางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่
ท่อนำไข่เสียหายเยื่อบุมดลุกเจริญผิดที่
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร ART
การกระตุ้นการตกไข่
โดยการให้ GnRH เป็นระยะ
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธ
GIFT ( Gamete Intrafallopian Transfer)
การนำเอาไข่ออกมาเลือกที่สมบูรณ์แล้ว นำเครื่องมือที่นำอสุจิและเซลล์ไข่ใส่เข้าไปใน ท่อนำไข่เพื่อให้มีการผสมและตั้งครรภแ์บบธรรมชาติ
ZIFT (Zygote Intrafallopian Transfer)
ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถูกนำมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ1วันถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัว อ่อนกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้อง
IVF ( In Vitro Fertilization)
ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้ว จะถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย โดย เพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้มีการแบ่งตัวจนเป็นตัวอ่อนในระยะ 4-8 เซลล์
การเก็บไข่
การเก็บสเปิร์ม
Micromanipulation
การใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่ แล้วให้เชื้ออสุจิวิ่งผ่านรูที่ เจาะ หรือการฉีดเชื้ออสุจิเข้าใต้เปลือกไข่
ICSI (Intracytoplasmic SpermInjection)
ตัวอสุจินอ้ยมาก (Oligozoospermia)
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี(Asthenozoospermia)