Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการที่ได้รับการบาดเจ็บ - Coggle Diagram
กลุ่มอาการที่ได้รับการบาดเจ็บ
คือ
การที่ร่างกาย หรืออวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้รับการบาดเจ็บ อาจจะเกิดจากการออกกำลังกายที่รุนแรงเกินไป อาจทำให้ได้รับการบาดเจ็บ ซึ่งมีผลเสียต่อกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ ของร่างกาย
การล้ม
การกระทบกระเทือน
การเล่นกีฬา
อุบัติเหตุ
Abdominal injury :
การกระทบกระแทกบริเวณท้อง สามารถทำให้เกิดการบาดเจ็บได้
จากการเกิดอุบัติเหตุ
ถูกทำร้ายร่างกาย
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Blunt abdominal injury
เกิดจากแรงกระแทกถูกช่องท้อง
แบ่งเป็น
Seat belt injury
Bicycle handle bar injury
Steering wheel injury
การประเมินบางครั้งค่อนข้างยาก เพราะไม่เห็นบาดแผลจากข้างนอก โดยเฉพาะผู้ป่วยที่หมดสติบาดเจ็บที่ศีรษะ และเมาสุรา
Penetrating injury
เกิดจากการบบาดเจ็บที่มีแผลทะลุเข้าช่องท้อง
ถูกยิง
ถูกแทง
Review of system
Skin , Hair , Nails
Respiratory System
Gastrointestinal System
General System
EENT
Cardiovascular
System
Extremities
Neurological System
Physical Examination
ตรวจทุกระบบ และเน้นระบบสำคัญ
ดู ฟัง เคาะ คลำ
Plan for treatment
At ER
ให้สารน้ำ เช่น Ringer’s, Acetar, NSS
ใส่สาย NG tube, สายสวนปัสสาวะ กรณีไม่มีข้อห้าม
ซักประวัติ
สภาพการบาดเจ็บ กลไกการบาดเจ็บ
ตำแหน่งผู้ป่วยบนรถ ลักษณะที่รถชน
การใช้เข็มขัดนิรภัย ถุงลมนิรภัย
ความปวด
การปฐมพยาบาล, การเคลื่อนย้าย เวลาเกิดเหตุ
Monitor สัญญาณชีพ, Urine output
สวมเสื้อผ้าและป้องกันอุณหภูมิกายต่ำ
สังเกต บันทึกอาการและกิจกรรมต่างๆ
At Ward
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
Observe V/S, N/S, Abdominal sign, Hct, I/O (ตามประเภทผู้ป่วย)
ติดตามผล Lab, X-ray
รายงานแพทย์เวร
เตรียมผู้ป่วยเพื่อผ่าตัดให้ยาตามแผนการรักษา
ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติทราบเกี่ยวกับ การวินิจฉัยโรค พยาธิสภาพ ของโรค แผนการรักษา / การผ่าตัด
Plan for diagnosis
U/S
X-ray
vital signs
อาจบ่งบอกถึงภาวะช็อก
ตรวจ CBC
Spinal injury
การบาดเจ็บที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อกระดูกสันหลัง เนื้อเยื่อโดยรอบ หรือเส้นประสาทที่อยู่ภายในกระดูกสันหลัง มักสัมพันธ์กับภาวะ head injury
สาเหตุ
การได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุส่งผลต่อไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
อาการช็อกจากไขสันหลัง (Spinal shock)
อาการที่เกิดจากไขสันหลังได้รับบาดเจ็บบางส่วน
Review of system
EENT
Respiratory System
Cardiovascular
System
General System
Gastrointestinal System
Skin , Hair , Nails
Extremities
Neurological System
Physical Examination
ตรวจทุกระบบที่เกี่ยวข้อง เช่น การเคลื่อนไหว ดูว่ามีผลกระทบที่ได้รับการบาดเจ็บร่วมไหม , หลอดเลือด
Plan for diagnosis
X-ray
plain X-ray
U/S
vital signs
การส่งเลือดตรวจหาการติดเชื้อ ขึ้นอยู่กับผู้ป่วย
Head injury
การได้รับบาดเจ็บจากแรงที่กระทำต่อกะโหลกศีรษะซึ่งทำให้เกิดความเสียหายต่อกะโหลกศีรษะ สมอง
ผลกระทบจากการบาดเจ็บ ทำให้เกิดผล 2 อย่าง
Primary brain injury
เป็นผลมาจากการได้รับบาดเจ็บจากแรงที่มากระทำโดยตรง
Secondary brain injury
เกิดตามหลัง primary brain injury เป็นผลจากภาวะขาดออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
การบาดเจ็บภายใน
หลอดเลือดในสมองฉีกขาดทำให้มีการตกเลือดในสมอง
สมองฟกซ้ำ
อาจมีอาการหมดสติไปเพียงชั่วครู่ เมื่อฟื้นแล้วจะรู้สึกมึนงง
การบาดเจ็บภายนอก ที่อาจพบอาการได้ตั้งแต่ศีรษะ
อาการอื่นๆ
คลื่นไส้/อาเจียน
Physical Examination
การตรวจระบบที่เกี่ยวข้อง
การตรวจสัญญาณชีพ และดูลักษณะทั่วไปของผู้ป่วย
การประเมินระดับความรู้สึกตัว Glasgow Coma Scale: GCS
ขนาดรูม่านตา
กำลังของแขน ขา (motor power)
Plan for diagnosis
การตรวจด้วยคลื่นสะท้อนในสนามแม่เหล็ก MRI
ส่งตรวจด้วยเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง
(computerized tomography (CT) scan)
vital signs
การตรวจทางรังสีวิทยา (radiological evaluation)
skull X-ray
แนวทางการรักษา
ดูแลระบบไหลเวียนโลหิต
แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำ (hypotension- systol
ic blood pressure < 90 mmHg)
ให้ IV , ยากระตุ้น
ภาวะบาดเจ็บร่วมอื่น ๆ ที่อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิต
tension pneumothorax
cardiac temponade (ภาวะบีบรัดหัวใจ)
hypovolemic shock
ดูแลระบบทางเดินหายใจ (Airway and respiratory support)
อาจจะต้องใส่ tube
การตรวจประเมินทางประสาทวิทยา (neurological evaluation)
เช่น ฟังรู้เรื่อง แต่ไม่สามารถพูดได้
ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกราย ต้องท้า neck immobilization
ต้องจำกัดการเคลื่อนไหวให้มากที่สุด
Chest injury
แบ่งเป็น
Blunt injury
เกิดจากได้รับแรงกระแทกหน้าอก
เช่น
กระดูกซีโครงหัก (fracture ribs)
อาการ
ขณะก้มงอ บิดตัวหรือหายใจแรงๆ จะทำให้มีอาการปวดขึ้น และจะรู้สึกเจ็บเมื่อใช้นิ้วกดถูกเบาๆ ถ้ากระดูกหักรุนแรง ทิ่มแทงถูกเนื้อปอด
อกรวน (flail chest)
อาการ
หายใจเร็วตื้น หายใจลำบาก (dyspnea) ผนังทรวงอกเสีย รูปทรงและเคลื่อนไหวแบบซี่โครงมากกว่า 3 ซี่
Penetrating injury
เกิดจากการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุเข้าช่องอก
ถูกแทง
ถูกยิง
เช่น
มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
(pneumothorax)
Open pneumothorax
เป็นภาวะที่มีลมเข้าไปอยู่ในเยื่อหุ้มปอดจากการมีช่องหรือรูติดต่อจากภายนอก
Closed pneumothorax
มีลมรั่วเข้าในช่องเยื่อหุ้มปอดโดยไม่มีทางติดต่อ
Tension pneumothorax
เป็นภาวะที่มีลมเข้าไปอยู่ในเยื่อหุ้มปอดผ่านรูติดต่อจากภายนอก มีส่วนของผนังทรวงอกยื่นออกทำหน้าที่คล้ายลิ้น
มีอาการหอบ ตัวเขียว ไอออกเป็นพองเลือดสดๆ หรือช็อก หน้าอกเคาะโปร่ง หรือเคาะทึบ
มีเลือดคั่งในปอด (hemothorax)
moderate hemothorax
ป็นภาวะที่มีปริมาณเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอดประมาณ 350-1,500 มล.
massive hemothorax
ป็นภาวะที่มีปริมาณเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอดมากกว่า 1,500 มล.ขึ้นไป ภายในระยะเวลา 1 ชั่วโมง
minimal hemothorax
เป็นภาวะที่มีปริมาณเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอดประมาณ 250-350 มล.
มีอาการหอบ ตัวเขียว ไอออกเป็นพองเลือดสดๆ หรือช็อก หน้าอกเคาะโปร่ง
อาการ
หายใจลำบาก (dyspnea) หายใจเร็วตื้น
มีเส้นเลือดดำที่คอโป่ง
มีอาการของภาวะช็อกจากการสูญเสียเลือด
หัวใจเต้นเร็ว
ผิวหนังซีด เขียว (Cyanosis)
ความดันโลหิตต่ำ
เสียงหายใจเข้าลดลง (decreased breath sound)
Physical Examination
การตรวจสัญญาณชีพ และดูลักษณะทั่วไปของผู้ป่วย
การตรวจระบบทเี่กี่ยวข้อง
แนวทางการรักษา
ภาวะอกรวน
การรักษา
การยึดทรวงอกด้านที่มีพยาธิสภาพให้อยู่นิ่ง (stabilizing chest wall)
ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)
Open pneumothorax
Tension pneumothorax
closed drainage
Closed pneumothorax
กระดูกซี่โครงหัก
การรักษา
การให้ยาบรรเทาปวดให้เพียงพอ
ภาวะเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด (hemothorax)
ดูแลระบบไหลเวียนโดยให้ได้รับสารน้ำเลือด
ภาวะปอดช้ำ (Lung contusion)
ดูแลการรักษาทางเดินหายใจให้โล่ง
ดูแลการหายใจให้เพียงพอ
Plan for diagnosis
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
arterial blood gas
Hb
Hct
การตรวจทางรังสีวิทยา (radiological evaluation)
angiography
CT scan
X-ray
MRI Scan
vital signs
ระบบอวัยวะอื่นๆ เช่น แขน ขา ระบบทางเดินปัสสาวะ กระดูกอื่นๆ